การใช้งบประมาณด้านกลาโหมญี่ปุ่นประจำปีงบประมาณ 2015
แผนการปรับปรุงและพัฒนากองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นประจำปีงบประมาณ 2015
ซึ่งจะเริ่มในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2015 นี้ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นการใช้งบประมาณมากที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
โดยมีมูลค่าทั้งสิ้น 4.98 ล้านล้านเยน ซึ่งเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 แต่เมื่อเทียบกับ GDP แล้วก็ยังคงน้อยกว่า 1%
ที่มา http://www.aspistrategist.org.au/japans-record-defence-budget-request/
ข้อมูลงบประมาณนี้จาก
http://www.mod.go.jp/j/yosan/2015/gaisan.pdf
โดยผมแปลเฉพาะส่วนที่เป็นการจัดหา การซ่อมบำรุง การวิจัยอาวุธยุทโธปกรณ์นะครับ
ซึ่งจะไม่รวมถึงงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับการฝึกหรือการจัดกำลังผล ซึ่งมีอยู่ในเอกสารส่วนท้ายๆครับ
ข้อมูลโดยสรุป กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นมีการจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์เพิ่มเติม ดังนี้
เครื่องบินไร้นักบิน (UAV) รุ่น Global Hawk จำนวน 3 ลำ
เครื่องบินขับไล่ชนิด F-35A จำนวน 6 ลำ
เครื่องบินแบบ P-1 จำนวน 20 ลำ
เครื่องบินแบบ V-22 จำนวน 5 ลำ
เฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนแบบ SH-60K จำนวน 2 ลำ
เฮลิคอปเตอร์กู้ภัยแบบ UH-60J จำนวน 1 ลำ
เครื่องบินแจ้งเตือนทางภัยอากาศ แบบ E-2D จำนวน 1 ลำ
ระบบอาวุธปล่อยนำวิถีแบบชนิดพื้นสู่อากาศระยะสั้น แบบ Type-11 จำนวน 1 ระบบ
ระบบอาวุธปล่อยนำวิถีแบบพื้นสู่อากาศระยะปานกลาง แบบ Type-03 จำนวน 1 ระบบ
ศูนย์ควบคุมและสั่งการการป้องกันทางอากาศ จำนวน 1 ระบบ
รถสะเทินน้ำสะเทินบก แบบ AAV7 จำนวน 30 คัน
เรือพิฆาตอิจิส จำนวน 1 ลำ
เรือดำน้ำชั้น Soryu จำนวน 1 ลำ
ส่วนรายละเอียดโครงการปรับปรุงอื่นๆ อยู่ใน spoil แต่ละหัวข้อครับ
งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาอื่นๆที่สำคัญ
• โครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่ เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่แบบ F-2 งบประมาณ 3.42 หมื่นล้านเยน
• การวิจัยด้านเทคโนโลยีสำหรับการออกแบบขีปนาวุธนำวิถีต่อต้านเรือขนาดใหญ่และภัยคุกคามหมู่เกาะ งบประมาณ 1,500 ล้านเยน
ขีปนาวุธนำวิถีต่อต้านเรือขนาดใหญ่ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบิน โดยเป็นขีปนาวุธแบบระเบิดและทำลายโครงสร้างเรือจากภายในและขีปนาวุธแบบหลายหัวรบเพื่อให้สามารถโจมตีภาคพื้นให้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายได้กว้าง
• การวิจัยด้านเทคโนโลยีเพื่อออกแบบ “เรลกัน” สำหรับติดตั้งบนเรือ เพื่อใช้ยิงทำลายขีปนาวุธโจมตีเรือ
• การวิจัยด้านเทคโนโลยีเพื่อการต่อต้านภัยคุกคามที่มีความเร็วสูงและมีระดับความสูงที่มาก โดยใช้พื้นฐานจากขีปนาวุธแบบพื้นสู่อากาศที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน งบประมาณ 800 ล้านเยน
• การวิจัยพัฒนา Power Suit สำหรับการทหารและการช่วยเหลือเมื่อเกิดภัยพิบัติ
การใช้งบด้านกลาโหมของญี่ปุ่น ปีงบประมาณ 2015
แผนการปรับปรุงและพัฒนากองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นประจำปีงบประมาณ 2015
ซึ่งจะเริ่มในวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 2015 นี้ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นการใช้งบประมาณมากที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
โดยมีมูลค่าทั้งสิ้น 4.98 ล้านล้านเยน ซึ่งเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 แต่เมื่อเทียบกับ GDP แล้วก็ยังคงน้อยกว่า 1%
ที่มา http://www.aspistrategist.org.au/japans-record-defence-budget-request/
ข้อมูลงบประมาณนี้จาก http://www.mod.go.jp/j/yosan/2015/gaisan.pdf
โดยผมแปลเฉพาะส่วนที่เป็นการจัดหา การซ่อมบำรุง การวิจัยอาวุธยุทโธปกรณ์นะครับ
ซึ่งจะไม่รวมถึงงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับการฝึกหรือการจัดกำลังผล ซึ่งมีอยู่ในเอกสารส่วนท้ายๆครับ
ข้อมูลโดยสรุป กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นมีการจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์เพิ่มเติม ดังนี้
เครื่องบินไร้นักบิน (UAV) รุ่น Global Hawk จำนวน 3 ลำ
เครื่องบินขับไล่ชนิด F-35A จำนวน 6 ลำ
เครื่องบินแบบ P-1 จำนวน 20 ลำ
เครื่องบินแบบ V-22 จำนวน 5 ลำ
เฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนแบบ SH-60K จำนวน 2 ลำ
เฮลิคอปเตอร์กู้ภัยแบบ UH-60J จำนวน 1 ลำ
เครื่องบินแจ้งเตือนทางภัยอากาศ แบบ E-2D จำนวน 1 ลำ
ระบบอาวุธปล่อยนำวิถีแบบชนิดพื้นสู่อากาศระยะสั้น แบบ Type-11 จำนวน 1 ระบบ
ระบบอาวุธปล่อยนำวิถีแบบพื้นสู่อากาศระยะปานกลาง แบบ Type-03 จำนวน 1 ระบบ
ศูนย์ควบคุมและสั่งการการป้องกันทางอากาศ จำนวน 1 ระบบ
รถสะเทินน้ำสะเทินบก แบบ AAV7 จำนวน 30 คัน
เรือพิฆาตอิจิส จำนวน 1 ลำ
เรือดำน้ำชั้น Soryu จำนวน 1 ลำ
ส่วนรายละเอียดโครงการปรับปรุงอื่นๆ อยู่ใน spoil แต่ละหัวข้อครับ
งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนาอื่นๆที่สำคัญ
• โครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่ เพื่อทดแทนเครื่องบินขับไล่แบบ F-2 งบประมาณ 3.42 หมื่นล้านเยน
• การวิจัยด้านเทคโนโลยีสำหรับการออกแบบขีปนาวุธนำวิถีต่อต้านเรือขนาดใหญ่และภัยคุกคามหมู่เกาะ งบประมาณ 1,500 ล้านเยน
ขีปนาวุธนำวิถีต่อต้านเรือขนาดใหญ่ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบิน โดยเป็นขีปนาวุธแบบระเบิดและทำลายโครงสร้างเรือจากภายในและขีปนาวุธแบบหลายหัวรบเพื่อให้สามารถโจมตีภาคพื้นให้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายได้กว้าง
• การวิจัยด้านเทคโนโลยีเพื่อออกแบบ “เรลกัน” สำหรับติดตั้งบนเรือ เพื่อใช้ยิงทำลายขีปนาวุธโจมตีเรือ
• การวิจัยด้านเทคโนโลยีเพื่อการต่อต้านภัยคุกคามที่มีความเร็วสูงและมีระดับความสูงที่มาก โดยใช้พื้นฐานจากขีปนาวุธแบบพื้นสู่อากาศที่มีใช้งานอยู่ปัจจุบัน งบประมาณ 800 ล้านเยน
• การวิจัยพัฒนา Power Suit สำหรับการทหารและการช่วยเหลือเมื่อเกิดภัยพิบัติ