พอดีผมได้เปิดหนังสือเรียนของหลาน และอยากจะสอนที่เราเคยเรียนมา
แต่ปรากฏว่า เราสอนเค้าไม่ได้เลย โดยเฉพาะวิชาสังคมไม่ได้เชื่อมโยงกันเลย
เช่น ม.1 ให้เรียนรู้ถึงการค้นคว้าประวัติศาสตร์ (มันมีคำถามว่าเพื่อ????) จะสอนประวัติศาสตร์ไทย หรือ จีน หรือ ยุโรป ก็สอน แต่การค้นคว้า เด็กคงจะค้นเองหรอก?? (หากบอกว่าผู้เรียนเป็นหลัก) แล้วกระโดดข้ามมา เรียนเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แล้วกลับกระโดดข้ามไป ระบบการปฎิรูปในสมัย รัชกาลที่ 5 (ซึ่งผมอ่านคร่าวๆของม .ต้น)
สมัยผม (T^T) ม.1 จำได้ว่าเรืยนเรื่องประเทศของเรา ม.2ทวีปของเรา ม.3โลกของเรา มันเชื่อมโยงและขยายไปเรื่อยๆ ทั้งในภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง กฎหมาย รวมทั้งประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม อันเป็นหน่วยของสังคม ที่มันเชื่อมโยงกัน และเด็กจะค่อยๆเข้าใจหรือไม่ ???
หรือผมแก่เกินไป จนไม่เข้าใจว่า กระทรวงศึกษา ต้องการอะไรจากเด็ก และต้องการยัดเยียด ความเข้าใจแบบไหน?? ให้กับเด็ก ซึ่งผมอ่านแล้วยังไม่พบความเชื่อมโยงให้เด็กเข้าใจ กระโดด ข้ามไปข้ามมาให้สับสน หรือต้องการให้ค้นเอง มันก็จะถามว่า เมื่อคุณ ม.ต้น ซึ่งอาจจะนานมากๆแล้วคุณ อยากอ่านหนังสืออื่นที่ไม่ใช่หนังสือเรียนไหม?? คำตอบมันค่อนข้างชัดเจน (ว่าไม่) และอีกประการ ทำไมถึงทำให้เชื่อมโยงกันไม่ได้ จนให้ผู้เรียนเข้าใจไปทีละเปราะ จนแตกฉาน และเข้าใจด้วยครูผู้สอนและตนเอง
ในมุมมองผมการศึกษาควรให้การต่อเนื่อง สอดคล้อง จนทำให้เด็กเข้าใจ มันล้าสมัยไปแล้วใช่ไหมครับ??
หรือเพราะเด็กผม ไม่อาจค้นคว้าจนเข้าใจตามที่ครูหรือกระทรวงศึกษาฯ ที่ต้องการให้เด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ครับ???
ผมอยากได้ความรู้จากเรื่องนี้จริงๆ และอยากเข้าใจคนออกแบบเรียนนี้ ว่าต้องการจะสื่ออะไรให้เด็กไทย ในยุคนี้เข้าใจ ต้องการสอนอะไร??
อยากถามว่ากระทรวงศึกษาฯไทย ต้องการอะไร จากแบบเรียนนี้??
การศึกษาไทย ทำไมถึงเป็นอย่างนี้????
แต่ปรากฏว่า เราสอนเค้าไม่ได้เลย โดยเฉพาะวิชาสังคมไม่ได้เชื่อมโยงกันเลย
เช่น ม.1 ให้เรียนรู้ถึงการค้นคว้าประวัติศาสตร์ (มันมีคำถามว่าเพื่อ????) จะสอนประวัติศาสตร์ไทย หรือ จีน หรือ ยุโรป ก็สอน แต่การค้นคว้า เด็กคงจะค้นเองหรอก?? (หากบอกว่าผู้เรียนเป็นหลัก) แล้วกระโดดข้ามมา เรียนเศรษฐศาสตร์ รวมทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แล้วกลับกระโดดข้ามไป ระบบการปฎิรูปในสมัย รัชกาลที่ 5 (ซึ่งผมอ่านคร่าวๆของม .ต้น)
สมัยผม (T^T) ม.1 จำได้ว่าเรืยนเรื่องประเทศของเรา ม.2ทวีปของเรา ม.3โลกของเรา มันเชื่อมโยงและขยายไปเรื่อยๆ ทั้งในภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง กฎหมาย รวมทั้งประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม อันเป็นหน่วยของสังคม ที่มันเชื่อมโยงกัน และเด็กจะค่อยๆเข้าใจหรือไม่ ???
หรือผมแก่เกินไป จนไม่เข้าใจว่า กระทรวงศึกษา ต้องการอะไรจากเด็ก และต้องการยัดเยียด ความเข้าใจแบบไหน?? ให้กับเด็ก ซึ่งผมอ่านแล้วยังไม่พบความเชื่อมโยงให้เด็กเข้าใจ กระโดด ข้ามไปข้ามมาให้สับสน หรือต้องการให้ค้นเอง มันก็จะถามว่า เมื่อคุณ ม.ต้น ซึ่งอาจจะนานมากๆแล้วคุณ อยากอ่านหนังสืออื่นที่ไม่ใช่หนังสือเรียนไหม?? คำตอบมันค่อนข้างชัดเจน (ว่าไม่) และอีกประการ ทำไมถึงทำให้เชื่อมโยงกันไม่ได้ จนให้ผู้เรียนเข้าใจไปทีละเปราะ จนแตกฉาน และเข้าใจด้วยครูผู้สอนและตนเอง
ในมุมมองผมการศึกษาควรให้การต่อเนื่อง สอดคล้อง จนทำให้เด็กเข้าใจ มันล้าสมัยไปแล้วใช่ไหมครับ??
หรือเพราะเด็กผม ไม่อาจค้นคว้าจนเข้าใจตามที่ครูหรือกระทรวงศึกษาฯ ที่ต้องการให้เด็กเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ครับ???
ผมอยากได้ความรู้จากเรื่องนี้จริงๆ และอยากเข้าใจคนออกแบบเรียนนี้ ว่าต้องการจะสื่ออะไรให้เด็กไทย ในยุคนี้เข้าใจ ต้องการสอนอะไร??
อยากถามว่ากระทรวงศึกษาฯไทย ต้องการอะไร จากแบบเรียนนี้??