การฝึกนั้งสมาธิ วิปัสสนากรรมฐาน
ต้องได้ฌานระดับใด ถึงจะได้ อภิญญา 6
จะได้มาโดยอัตโนมัติเลยใช่ไหม
...................................................................................................................................................................................
อภิญญา 6
อภิญญา แปลว่า ความรู้ยิ่ง หมายถึงปัญญาความรู้ที่สูงเหนือกว่าปกติ เป็นความรู้พิเศษที่เกิดขึ้นจากการอบรมจิตเจริญปัญญาหรือบำเพ็ญกรรมฐาน
อภิญญา หมายถึงคุณสมบัติพิเศษของพระอริยบุคคลซึ่งเป็นเหตุให้มีอิทธิฤทธิ์ต่างๆ มี 6 อย่าง คือ
1. อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ได้ เช่น ล่องหนได้ เหาะได้ ดำดินได้
2. ทิพพโสต มีหูทิพย์
3. เจโตปริยญาณ กำหนดรู้ใจผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
5. ทิพพจักขุ มีตาทิพย์
6. อาสวักขยญาณ รู้การทำอาสวะให้สิ้นไป
อภิญญา 5 ข้อแรกเป็นของสาธารณะ (โลกียญาณ) ข้อ 6 มีเฉพาะในพระอรหันต์
ถ้าพบผู้แสดงฤทธิ์ได้ อย่าพึ่งหมายความว่าผู้นั้นจะเป็นอริยบุคคล
นั้งสมาธิ วิปัสสนากรรมฐาน ต้องได้ฌานระดับใด ถึงจะได้ อภิญญา 6
ต้องได้ฌานระดับใด ถึงจะได้ อภิญญา 6
จะได้มาโดยอัตโนมัติเลยใช่ไหม
...................................................................................................................................................................................
อภิญญา 6
อภิญญา แปลว่า ความรู้ยิ่ง หมายถึงปัญญาความรู้ที่สูงเหนือกว่าปกติ เป็นความรู้พิเศษที่เกิดขึ้นจากการอบรมจิตเจริญปัญญาหรือบำเพ็ญกรรมฐาน
อภิญญา หมายถึงคุณสมบัติพิเศษของพระอริยบุคคลซึ่งเป็นเหตุให้มีอิทธิฤทธิ์ต่างๆ มี 6 อย่าง คือ
1. อิทธิวิธิ แสดงฤทธิ์ได้ เช่น ล่องหนได้ เหาะได้ ดำดินได้
2. ทิพพโสต มีหูทิพย์
3. เจโตปริยญาณ กำหนดรู้ใจผู้อื่นได้
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
5. ทิพพจักขุ มีตาทิพย์
6. อาสวักขยญาณ รู้การทำอาสวะให้สิ้นไป
อภิญญา 5 ข้อแรกเป็นของสาธารณะ (โลกียญาณ) ข้อ 6 มีเฉพาะในพระอรหันต์
ถ้าพบผู้แสดงฤทธิ์ได้ อย่าพึ่งหมายความว่าผู้นั้นจะเป็นอริยบุคคล