อย่างแรกที่ต้องพูดถึงคือ อยากให้ทำความเข้าใจก่อนว่า เราต้องยอมรับว่า สีเสื้อของจริงแม้จะเป็นสีน้ำเงินดำตามที่เจ้าของเสื้อเฉลย กลับไม่ใช่ประเด็นสำคัญอย่างที่คิด
เพราะภาพนี้ถูกถ่ายด้วยกล้องมาเป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ว และปัญหาเกิดจากการที่เราดูรูป ๆ นี้ รูปเดียวกัน ไม่ได้ดูจากเสื้อจริง
ซึ่งการจะตัดสินว่าสีจริง ๆ คือสีอะไร ต้องใช้สีเสื้อของรูปนี้ ไม่ใช่สีเสื้อจริงครับ ซึ่งการสรุปว่าคนมองว่าน้ำเงินดำถูกต้องจากเสื้อจริงนั้น จึงไม่ถูกต้องครับ
ข้อที่สอง คือสีเสื้อในรูปแท้จริงแล้วคือสีอะไร ในที่นี้จะใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดสิน โดยยึดมั่นว่า ระบบสี RGB หรือ CMYK นั้นเชื่อถือได้ เราจะใน photoshop ดูดสีนั้น ๆ มาดู (จริง ๆ มีคนทำไว้มากมายแล้ว แต่เห็นว่าสำคัญครับเลยจะทำซ้ำ)
ขอกำหนดกลุ่มสีที่มี ปัญหาเรียกว่าเป็น
1.กลุ่มปัญหาสี (ขาว vs. น้ำเงิน) กับ
2. กลุ่มปัญหาสี (เหลืองvsดำ)
กลุ่มปัญหา (ขาว vs น้ำเงิน)
สังเกตได้ว่าสีที่ได้คือช่วง(สีขาว vs น้ำเงิน) นั้นออกมาเป็นน้ำเงินเทาซีด ๆ ตุ่น ๆ ไม่ใช่สีขาวจั๊ว ไม่ใช่สีน้ำเงินเข้มทั้งคู่
และกลุ่มเหลือง vs ดำ
ออกมาเป็นสีเหลืองตุ่น ๆ ปน เทา ดูคล้ายน้ำตาล มอ ๆ ไม่ใช้เหลืองแปร๊ด (ทอง) ไม่ใช่ ดำแน่ ๆ
ขอนำรุปจากต่างประเทศมาสรุปนะครับ
และหากนำ sampling ที่ได้มาทำใหม่เป็นเสื้อดังนี้
เห็นเป็นสีอะไรกันครับผม
ตรงนี้สรุปว่า คนที่มองว่าน้ำเงินเทา ๆ ตุ่น ๆ กับ เหลืองตุ่น ๆ นั้นถูกต้องครับ ยินดีด้วย
ส่วนคนที่มองว่าขาวจั๊ว เหลืองอร่าม (ทอง) กับ ดำปี๋ น้ำเงินเข้ม นั้น โดนตาตัวเองหลอกครับ
ความจริงถูกเปิดเผยแล้ว ที่นี้จะอธิบายว่า ทำไม่ถึงมีคนมองผิดล่ะครับ
การอธิบายอาจจะงง หน่อยครับ ต้องรื้อฟื้น physiology เข้าใจว่าม.ปลายเหมือนจะได้เรียนกันอยู่นะครับ
การที่คนจะเห็นแสงเป็นสีต่าง ๆ นั้นเกิดจากการที่ photoreceptor ในดวงตาทำงานครับ การที่มันจะทำงานได้ก็เมื่อมีคลื่นแสงมากระทบมันครับ photo receptor มีสามตัวด้วยกันคือ red-cone, green-cone, blue-cone (ในที่นี้ผมคิดว่าไม่เกี่ยวกับ rod เลยครับ เพราะแสงหน้าจอคิดว่าสว่างเกิดกว่า rod จะทำงานมากนะครับ เลยไม่ขอพูดถึงนะครับ)
สีแดงคือ red cone ทำงาน
สีนำ้เงินคือ blue cone ทำงาน
สีเขียวคือ green cone ทำงาน
ถ้าสีดำคือ ไม่มีใครทำงาน
ขาวคือ ทุกตัวทำงานพร้อมกัน
เหลืองคือ ทำงานเฉพาะ red กับ green
เป็นต้นนะครับ
ในที่นี้ขอแยกเป็นสองกลุ่มคือ Red-green กับ blue เพราะตามวิวัฒนาการนั้น Red กับ green นั้นมาด้วยกัน แยกสายไปจากกับ blue ครับ
ซึ่งเวลามีปัญหาเรื่องสี ก็มักจะแยกเป็นสองกลุ่มแบบนี้แหละครับ เช่นคนตาบอดสี ส่วนมากจะบอดเป็น red-green พร้อมกัน เป็นต้น
จากนี้สำคัญที่สุดครับ
ทำความเข้าใจตรงนี้จะเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้น
จะเห็นสีเหลือง ตัวที่จะทำงานคือ R G เท่านั้น <------>
ถ้าเหลืองตุ่น ๆ จะเป็น R G เต็มที่ กับ B เล็กน้อย <-----> ถ้าจะเป็นดำ คือ ไม่ทำงานทั้ง R G B
จะเห็นสีขาว ตัวที่จะทำงานคือ R G B ทั้งหมดครับ <----->
ถ้าเห็นเป็นน้ำเงิน ซีด ๆ คือ เด่น B แต่มี R G เล็กน้อย <---->สีน้ำเงินสด ตัวที่จะทำงานคือ B เท่านั้นครับ
****สังเกตว่าสีที่ถูกต้องจากภาพคือ แถวตรงกลางนะครับ****
ปัญหาของเราคือ พอตาทำงาน ตาเราพร้อมจะโดนหลอกได้ตลอดเวลาครับ เนื่องจากมีการปรับสภาพให้อยู่ในภาวะที่รับสีได้ดีที่สุด แต่มันไม่ถูกต้องเสมอไป เพราะคลื่นแสงเดียวกัน ดันไปกระตุ้น cone ของคนสองคน คนละตัวกันซะเฉย ๆ เบื๊อกซะไม่มี จุดนี้ขอบอกว่าเป็นความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์เองครับ spectrum สีชุดนี้ดันไปอยู่ในช่วงที่กำกวม ของ การทำงานของ photoreceptor ของเราพอดีจึงเกิดการเพี้ยนเกิดขึ้น แถมเพี้ยนแตกเป็นสองฝั่งอีก ซึ่งพออธิบายได้อย่างนี้ครับ
กลุ่ม น้ำเงินเข้ม ดำปี๋ นี่แปลว่า ตาคุณ suppress Red + Green มากไปครับ
ตรงที่ควรจะน้ำเงินซีด ๆ ตุ่น ๆ ที่ควรจะทำงานทั้ง RGB (โดยเด่นที่ Blue ส่วน R G ทำงานเล็กน้อย) กลายเป็นเหลือแต่ blue ที่ทำงานเลยเห็ฯฃแต่สีน้ำเงินสดใส
ส่วนตรงสีเหลืองตุ่นที่ ทำงาน แต่ R G (จริง ๆ มี blue ปนนิดนึงทำให้ตุ่น) พอโดน suppress R G เลยไม่มีใครทำงานเลย กลายเป็นไม่โดนกระตุ้นเลย กลายเป็นสีดำเจือน้ำเงิน ครับ
กลุ่ม ขาวจั๊ว เหลืองทอง นี่แปลว่า ตาคุณ supress blue มากไปครับ
ตรงที่ควรจะน้ำเงินซีด ๆ ตุ่น ๆ ที่ควรจะทำงานทั้ง RGB (โดยเด่นที่ Blue ส่วน R G ทำงานเล็กน้อย) กลายเป็น blue จากที่เด่นกลับโดน suppress กลายเป็นทำงานเท่า ๆ กัน ซึ่งพอทุกตัวทำงานเท่ากัน มันก็คือแปลสีเป็นสีขาวนั่นเองครับ
ส่วนตรงสีเหลืองตุ่นที่ ทำงาน แต่ R G (จริง ๆ มี blue ปนนิดนึงทำให้ตุ่น) พอโดน suppress blue ที่มีอยู่นิดเดียวอยู่แล้ว ทีนี้ Red greenเลย เด่น กลายเป็ฯเหลืองอร่ามไปนั่นเองครับ
ขอสรุปเป็นแผนภาพดังนี้ครับผม
**แท่งสี แสดงถึงการทำงานของ red-cone green-cone และ blue-cone นะครับ
งง นิดหน่อย แต่ส่วนตัวคิดว่ามาถูกทางแล้วครับผม
ขอเชิญ discuss ต่อได้ครับผม
คำตอบอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ของเดรสขาวเหลือง น้ำเงินดำ โดยผู้ทำงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์การมองเห็นครับ
เพราะภาพนี้ถูกถ่ายด้วยกล้องมาเป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ว และปัญหาเกิดจากการที่เราดูรูป ๆ นี้ รูปเดียวกัน ไม่ได้ดูจากเสื้อจริง
ซึ่งการจะตัดสินว่าสีจริง ๆ คือสีอะไร ต้องใช้สีเสื้อของรูปนี้ ไม่ใช่สีเสื้อจริงครับ ซึ่งการสรุปว่าคนมองว่าน้ำเงินดำถูกต้องจากเสื้อจริงนั้น จึงไม่ถูกต้องครับ
ข้อที่สอง คือสีเสื้อในรูปแท้จริงแล้วคือสีอะไร ในที่นี้จะใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดสิน โดยยึดมั่นว่า ระบบสี RGB หรือ CMYK นั้นเชื่อถือได้ เราจะใน photoshop ดูดสีนั้น ๆ มาดู (จริง ๆ มีคนทำไว้มากมายแล้ว แต่เห็นว่าสำคัญครับเลยจะทำซ้ำ)
ขอกำหนดกลุ่มสีที่มี ปัญหาเรียกว่าเป็น
1.กลุ่มปัญหาสี (ขาว vs. น้ำเงิน) กับ
2. กลุ่มปัญหาสี (เหลืองvsดำ)
กลุ่มปัญหา (ขาว vs น้ำเงิน)
สังเกตได้ว่าสีที่ได้คือช่วง(สีขาว vs น้ำเงิน) นั้นออกมาเป็นน้ำเงินเทาซีด ๆ ตุ่น ๆ ไม่ใช่สีขาวจั๊ว ไม่ใช่สีน้ำเงินเข้มทั้งคู่
และกลุ่มเหลือง vs ดำ
ออกมาเป็นสีเหลืองตุ่น ๆ ปน เทา ดูคล้ายน้ำตาล มอ ๆ ไม่ใช้เหลืองแปร๊ด (ทอง) ไม่ใช่ ดำแน่ ๆ
ขอนำรุปจากต่างประเทศมาสรุปนะครับ
และหากนำ sampling ที่ได้มาทำใหม่เป็นเสื้อดังนี้
เห็นเป็นสีอะไรกันครับผม
ตรงนี้สรุปว่า คนที่มองว่าน้ำเงินเทา ๆ ตุ่น ๆ กับ เหลืองตุ่น ๆ นั้นถูกต้องครับ ยินดีด้วย
ส่วนคนที่มองว่าขาวจั๊ว เหลืองอร่าม (ทอง) กับ ดำปี๋ น้ำเงินเข้ม นั้น โดนตาตัวเองหลอกครับ
ความจริงถูกเปิดเผยแล้ว ที่นี้จะอธิบายว่า ทำไม่ถึงมีคนมองผิดล่ะครับ
การอธิบายอาจจะงง หน่อยครับ ต้องรื้อฟื้น physiology เข้าใจว่าม.ปลายเหมือนจะได้เรียนกันอยู่นะครับ
การที่คนจะเห็นแสงเป็นสีต่าง ๆ นั้นเกิดจากการที่ photoreceptor ในดวงตาทำงานครับ การที่มันจะทำงานได้ก็เมื่อมีคลื่นแสงมากระทบมันครับ photo receptor มีสามตัวด้วยกันคือ red-cone, green-cone, blue-cone (ในที่นี้ผมคิดว่าไม่เกี่ยวกับ rod เลยครับ เพราะแสงหน้าจอคิดว่าสว่างเกิดกว่า rod จะทำงานมากนะครับ เลยไม่ขอพูดถึงนะครับ)
สีแดงคือ red cone ทำงาน
สีนำ้เงินคือ blue cone ทำงาน
สีเขียวคือ green cone ทำงาน
ถ้าสีดำคือ ไม่มีใครทำงาน
ขาวคือ ทุกตัวทำงานพร้อมกัน
เหลืองคือ ทำงานเฉพาะ red กับ green
เป็นต้นนะครับ
ในที่นี้ขอแยกเป็นสองกลุ่มคือ Red-green กับ blue เพราะตามวิวัฒนาการนั้น Red กับ green นั้นมาด้วยกัน แยกสายไปจากกับ blue ครับ
ซึ่งเวลามีปัญหาเรื่องสี ก็มักจะแยกเป็นสองกลุ่มแบบนี้แหละครับ เช่นคนตาบอดสี ส่วนมากจะบอดเป็น red-green พร้อมกัน เป็นต้น
จากนี้สำคัญที่สุดครับ
ทำความเข้าใจตรงนี้จะเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้น
จะเห็นสีเหลือง ตัวที่จะทำงานคือ R G เท่านั้น <------> ถ้าเหลืองตุ่น ๆ จะเป็น R G เต็มที่ กับ B เล็กน้อย <-----> ถ้าจะเป็นดำ คือ ไม่ทำงานทั้ง R G B
จะเห็นสีขาว ตัวที่จะทำงานคือ R G B ทั้งหมดครับ <-----> ถ้าเห็นเป็นน้ำเงิน ซีด ๆ คือ เด่น B แต่มี R G เล็กน้อย <---->สีน้ำเงินสด ตัวที่จะทำงานคือ B เท่านั้นครับ
ปัญหาของเราคือ พอตาทำงาน ตาเราพร้อมจะโดนหลอกได้ตลอดเวลาครับ เนื่องจากมีการปรับสภาพให้อยู่ในภาวะที่รับสีได้ดีที่สุด แต่มันไม่ถูกต้องเสมอไป เพราะคลื่นแสงเดียวกัน ดันไปกระตุ้น cone ของคนสองคน คนละตัวกันซะเฉย ๆ เบื๊อกซะไม่มี จุดนี้ขอบอกว่าเป็นความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์เองครับ spectrum สีชุดนี้ดันไปอยู่ในช่วงที่กำกวม ของ การทำงานของ photoreceptor ของเราพอดีจึงเกิดการเพี้ยนเกิดขึ้น แถมเพี้ยนแตกเป็นสองฝั่งอีก ซึ่งพออธิบายได้อย่างนี้ครับ
กลุ่ม น้ำเงินเข้ม ดำปี๋ นี่แปลว่า ตาคุณ suppress Red + Green มากไปครับ
ตรงที่ควรจะน้ำเงินซีด ๆ ตุ่น ๆ ที่ควรจะทำงานทั้ง RGB (โดยเด่นที่ Blue ส่วน R G ทำงานเล็กน้อย) กลายเป็นเหลือแต่ blue ที่ทำงานเลยเห็ฯฃแต่สีน้ำเงินสดใส
ส่วนตรงสีเหลืองตุ่นที่ ทำงาน แต่ R G (จริง ๆ มี blue ปนนิดนึงทำให้ตุ่น) พอโดน suppress R G เลยไม่มีใครทำงานเลย กลายเป็นไม่โดนกระตุ้นเลย กลายเป็นสีดำเจือน้ำเงิน ครับ
กลุ่ม ขาวจั๊ว เหลืองทอง นี่แปลว่า ตาคุณ supress blue มากไปครับ
ตรงที่ควรจะน้ำเงินซีด ๆ ตุ่น ๆ ที่ควรจะทำงานทั้ง RGB (โดยเด่นที่ Blue ส่วน R G ทำงานเล็กน้อย) กลายเป็น blue จากที่เด่นกลับโดน suppress กลายเป็นทำงานเท่า ๆ กัน ซึ่งพอทุกตัวทำงานเท่ากัน มันก็คือแปลสีเป็นสีขาวนั่นเองครับ
ส่วนตรงสีเหลืองตุ่นที่ ทำงาน แต่ R G (จริง ๆ มี blue ปนนิดนึงทำให้ตุ่น) พอโดน suppress blue ที่มีอยู่นิดเดียวอยู่แล้ว ทีนี้ Red greenเลย เด่น กลายเป็ฯเหลืองอร่ามไปนั่นเองครับ
ขอสรุปเป็นแผนภาพดังนี้ครับผม
**แท่งสี แสดงถึงการทำงานของ red-cone green-cone และ blue-cone นะครับ
งง นิดหน่อย แต่ส่วนตัวคิดว่ามาถูกทางแล้วครับผม
ขอเชิญ discuss ต่อได้ครับผม