ในงานเสวนาเวทีรับฟังความเห็นเปิดสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ 21 ที่ทำเนียบรัฐบาลที่ผ่านมา เราได้ดูถ่ายทอดสดแล้วลองพิจารณาสิ่งที่ท่านพูดเรื่อง
1. ราคาน้ำมันตลาดโลก แต่ไทยลดน้อย
2. เรื่องก๊าซหุงต้มที่มีการปรับราคา
เที่ยวว่า รัฐบาลนี้ว่า เป็นตัวการทำให้แพง ถ้าลองมองย้อนไปดูประวัติการนำเงินจากกองทุนน้ำมันมาใช้จะเห็นได้ว่า
ในช่วงที่ คุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อเดือนธันวาคม ปี 2551 กองทุนน้ำมันมีฐานที่เป็นบวก ถึง 28,768 ล้านบาท เพราะเป็นช่วงขาลงของน้ำมันพอดี ซึ่งรัฐบาลคุณอภิสิทธิ์ ก็ใช้วิธีการเดียวกันกับที่ ดร.ณรงค์ชัย ทำ คือเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมัน ช่วงสถานการณ์น้ำมันขาขึ้น มาตกในช่วงรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ การรักษาเพดานราคาดีเซลเอาไว้ไม่เกิน 30 บาทต่อลิตร ในสมัยรัฐบาลคุณอภิสิทธิ์ ที่รัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ยึดเอาตามก็ทำให้กองทุนน้ำมันที่เคยเป็นบวก กลายมาเป็นติดลบหนัก 22,820 ล้านบาท แถมต้อง
ลดภาษีสรรพสามิต ลงจาก 5 บาทกว่าต่อลิตร เหลือเพียง 5 สตางค์ กองทุนน้ำมันติดลบเหลือ 7,335 ล้านบาท เมื่อรัฐบาลพลเอกประยุทธ์เข้ามา ซึ่งเป็นช่วงน้ำมันขาลง จะเห็นว่า สิ่งที่ ดร.ณรงค์ชัย ดำเนินการ ก็ไม่ได้แตกต่างจากสมัยรัฐบาลคุณอภิสิทธิ์ คือเดินหน้าเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมัน โดยเฉพาะจากน้ำมันดีเซล ซึ่งทำให้ฐานะกองทุนที่ติดลบ กลับมาเป็นบวกประมาณหมื่นล้านบาทในปัจจุบัน ทีนี้ก็คงจะเห็นแล้วว่า
ประเด็นที่ **คุณอภิสิทธิ์** ออกมาเรียกร้องให้ลดราคาดีเซลให้เท่ากับราคาตลาดโลก นั้น เป็นเรื่องการเมืองที่ช่วงชิงจังหวะหาคะแนนนิยมให้ตัวเอง โดยที่ไม่ได้ย้อนในดูในอดีตที่ตัวเองเคยทำมาก่อนเลย อีกเรื่องคือ การตรึงราคา LPG ที่ ทั้งสองพรรคทำไม่ต่างกันคือ เอาเงินจากกองทุนน้ำมันมาอุดหนุนเช่นกัน
ฉะนั้นขอฝาก สิ่งที่คุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ถาม รมว. ในงานเวทีเสวนาเดินหน้าประเทศไทยเพื่อความมั่นคงทางพลังงาน 20 ก.พ. 2558 ณ ทำเนียบรัฐบาล จากภาพนี้น่าจะตอบคำถามได้ดีที่สุด ว่าทำไมน้ำมันตลาดโลกลง แต่น้ำมันสำเร็จรูปของไทยไม่ลง และ แก๊สหุงต้มแพงขึ้น เพราะตอนนี้มีการปรับโครงสร้างพลังงานประเภทอื่นๆ ตามด้วย เพราะ ไม่เน้นการทำประชานิยมแบบนักการเมืองจนเคยตัว
ท่านอดีตผู้นำฝ่ายค้าน ก่อนแสดงความเห็นไม่ย้อนดูผลงานตัวเองที่ผ่านมาหน่อยหรอ
1. ราคาน้ำมันตลาดโลก แต่ไทยลดน้อย
2. เรื่องก๊าซหุงต้มที่มีการปรับราคา
เที่ยวว่า รัฐบาลนี้ว่า เป็นตัวการทำให้แพง ถ้าลองมองย้อนไปดูประวัติการนำเงินจากกองทุนน้ำมันมาใช้จะเห็นได้ว่า
ในช่วงที่ คุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อเดือนธันวาคม ปี 2551 กองทุนน้ำมันมีฐานที่เป็นบวก ถึง 28,768 ล้านบาท เพราะเป็นช่วงขาลงของน้ำมันพอดี ซึ่งรัฐบาลคุณอภิสิทธิ์ ก็ใช้วิธีการเดียวกันกับที่ ดร.ณรงค์ชัย ทำ คือเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมัน ช่วงสถานการณ์น้ำมันขาขึ้น มาตกในช่วงรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ การรักษาเพดานราคาดีเซลเอาไว้ไม่เกิน 30 บาทต่อลิตร ในสมัยรัฐบาลคุณอภิสิทธิ์ ที่รัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ยึดเอาตามก็ทำให้กองทุนน้ำมันที่เคยเป็นบวก กลายมาเป็นติดลบหนัก 22,820 ล้านบาท แถมต้องลดภาษีสรรพสามิต ลงจาก 5 บาทกว่าต่อลิตร เหลือเพียง 5 สตางค์ กองทุนน้ำมันติดลบเหลือ 7,335 ล้านบาท เมื่อรัฐบาลพลเอกประยุทธ์เข้ามา ซึ่งเป็นช่วงน้ำมันขาลง จะเห็นว่า สิ่งที่ ดร.ณรงค์ชัย ดำเนินการ ก็ไม่ได้แตกต่างจากสมัยรัฐบาลคุณอภิสิทธิ์ คือเดินหน้าเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมัน โดยเฉพาะจากน้ำมันดีเซล ซึ่งทำให้ฐานะกองทุนที่ติดลบ กลับมาเป็นบวกประมาณหมื่นล้านบาทในปัจจุบัน ทีนี้ก็คงจะเห็นแล้วว่า ประเด็นที่ **คุณอภิสิทธิ์** ออกมาเรียกร้องให้ลดราคาดีเซลให้เท่ากับราคาตลาดโลก นั้น เป็นเรื่องการเมืองที่ช่วงชิงจังหวะหาคะแนนนิยมให้ตัวเอง โดยที่ไม่ได้ย้อนในดูในอดีตที่ตัวเองเคยทำมาก่อนเลย อีกเรื่องคือ การตรึงราคา LPG ที่ ทั้งสองพรรคทำไม่ต่างกันคือ เอาเงินจากกองทุนน้ำมันมาอุดหนุนเช่นกัน
ฉะนั้นขอฝาก สิ่งที่คุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ถาม รมว. ในงานเวทีเสวนาเดินหน้าประเทศไทยเพื่อความมั่นคงทางพลังงาน 20 ก.พ. 2558 ณ ทำเนียบรัฐบาล จากภาพนี้น่าจะตอบคำถามได้ดีที่สุด ว่าทำไมน้ำมันตลาดโลกลง แต่น้ำมันสำเร็จรูปของไทยไม่ลง และ แก๊สหุงต้มแพงขึ้น เพราะตอนนี้มีการปรับโครงสร้างพลังงานประเภทอื่นๆ ตามด้วย เพราะ ไม่เน้นการทำประชานิยมแบบนักการเมืองจนเคยตัว