ประวัติ
ประเพณีแห่ข้าวพันก้อน ชาวไทยพวน วัดแสงสว่าง ตำบลโคกไทย อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี คุณป้าส้มเกลี้ยง ดอนมอญ เล่าบอกผ่านเป็นภาษาพวนและครูพันธ์ศักดิ์ รักสุด หัวหน้า กศน.ตำบลโคกไทย เป็นผู้แปลว่า ประเพณีแห่ข้าวพันก้อนของบ้านโคกมอญ นี้ สันนิษฐานว่า ชาวลาวเวียง(ไทยพวน) มาจากเวียงจันทร์ ประเทศลาวที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในแถบนี้ได้นำขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เรียกว่า “บุญพระทวด” เข้ามาในท้องถิ่นแล้วสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
ขั้นตอนปฏิบัติพิธีกรรม
พุทธศาสนิกชนมาช่วยกันจัดตกแต่งศาลาหรือสถานที่ทำบุญ จัดเตรียมเครื่องสักการะจัดงานบุญผะเหวด หรืองานเทศน์มหาชาตินิยมที่อัญเชิญพระอุปคุต มาปกป้องคุ้มครองมิให้เกิดเหตุเภทภัยอันตรายทั้งปวงและให้โชค ลาภ แก่พุทธศาสนิกชน
อุปกรณ์ในการทำพิธี
๑. ธูปเทียน ดอกไม้ อย่าละพันเพื่อไว้บูชาคาถา “พันคาถาในการเทศน์”
๒. พระอุปคุต
๓. ข้าวเหนียว
๔. เครื่องบูชาธรรม
๕. ประรำพิธี
เครื่องดนตรีและเพลงที่ใช้ในการประกอบพิธี
๑. กลองยาวสำหรับเล่นนำขบวน
๒. วงดนตรีไทย
ช่วยหน่อยน่ะค่ะ
ช่วยแปลเป็น ภาษาอังกฤษ หน่อยค่ะ
ประเพณีแห่ข้าวพันก้อน ชาวไทยพวน วัดแสงสว่าง ตำบลโคกไทย อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี คุณป้าส้มเกลี้ยง ดอนมอญ เล่าบอกผ่านเป็นภาษาพวนและครูพันธ์ศักดิ์ รักสุด หัวหน้า กศน.ตำบลโคกไทย เป็นผู้แปลว่า ประเพณีแห่ข้าวพันก้อนของบ้านโคกมอญ นี้ สันนิษฐานว่า ชาวลาวเวียง(ไทยพวน) มาจากเวียงจันทร์ ประเทศลาวที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในแถบนี้ได้นำขนบธรรมเนียม ประเพณีที่เรียกว่า “บุญพระทวด” เข้ามาในท้องถิ่นแล้วสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
ขั้นตอนปฏิบัติพิธีกรรม
พุทธศาสนิกชนมาช่วยกันจัดตกแต่งศาลาหรือสถานที่ทำบุญ จัดเตรียมเครื่องสักการะจัดงานบุญผะเหวด หรืองานเทศน์มหาชาตินิยมที่อัญเชิญพระอุปคุต มาปกป้องคุ้มครองมิให้เกิดเหตุเภทภัยอันตรายทั้งปวงและให้โชค ลาภ แก่พุทธศาสนิกชน
อุปกรณ์ในการทำพิธี
๑. ธูปเทียน ดอกไม้ อย่าละพันเพื่อไว้บูชาคาถา “พันคาถาในการเทศน์”
๒. พระอุปคุต
๓. ข้าวเหนียว
๔. เครื่องบูชาธรรม
๕. ประรำพิธี
เครื่องดนตรีและเพลงที่ใช้ในการประกอบพิธี
๑. กลองยาวสำหรับเล่นนำขบวน
๒. วงดนตรีไทย
ช่วยหน่อยน่ะค่ะ