บรรดานักท่องเที่ยวชาวตะวันตกมักจะเรียกพวกเขาว่า สตรียีราฟ "giraffe women"
ส่วนคนไทยมักจะเรียกสตรีกลุ่มนี้ว่า พวกกะเหรี่ยงคอยาว
ในต่อไปจะใช้คำว่าสตรีคอยาว แทนคำว่า สตรียีราฟ
เมื่อนักท่องเที่ยวชาวตะวันตกมาเยี่ยมเยือนค่ายผู้อพยพลี้ภัยสงคราม
ตั้งแต่ช่วงต้นปี 1990(2533) เป็นต้นมานั้น
พวกเขามักจะตกอกตกใจกับสิ่งที่พบเห็นที่ลำคอชนเผ่านี้ที่ทำตามประเพณีโบราณ
แต่วัฒนธรรมการมีคอยาวกำลังเปลี่ยนแปลงไปในกลุ่มชาว Kayan Lahwi
1 / 12 ชนเผ่า Kayan Lahwi
Kayan เป็นชนเผ่าย่อยของชนเผ่ากะเหรี่ยงแดง Red Karen หรือ Karenni
ที่แต่เดิมอาศัยในประเทศเมียนม่า/พม่า
โดยภายในกลุ่มชนเผ่าย่อย Kayan ก็ยังมีเผ่าย่อย ๆ อีกหลายเผ่า
แต่ชนเผ่า Kayan Lahwi มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันมากที่สจุด
เพราะชนเผ่าสตรีคอยาวเป็นจุดดึงดูดความสนใจนักท่องเที่ยวมากที่สุด
Credit : Galleryhip
2 / 12 อพยพออกจากพม่า
ชาวเผ่า Kayan หลายคนอพยพจากบ้านเกิดเมืองนอน
ในช่วงปลายปี 1980(2523) และตอนต้นปี 1990(2533)
เพราะสาเหตุขัดแย้งกับผู้นำกองกำลังติดอาวุธในพม่า
Credit : Biris Paul Silviu/Moment Mobile/Getty Images
3 / 12 ผู้อพยพ/ลี้ภัยสงคราม
หลังจากลี้ภัยออกจากพม่าแล้ว ชนเผ่า Kayans ก็ถูกบังคับให้ไปอยู่กันในค่ายผู้อพยพ
และพวกเขาต่างตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนใกล้ชายแดนประเทศไทย
มีพื้นที่ที่ทำมาหากินและอยู่อาศัยที่มักจะเรียกกันว่า หมู่บ้านคอยาว Long Neck section
Credit : Katie Garrod/AWL Images/Getty Images
4 / 12 คอยาว
หมู่บ้านคอยาวเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวสนใจมากที่สุด
เพราะชนเผ่า Kayan Lahwi ที่รู้จักกันดีว่า
สตรีคอยาว/ สตรียีราฟ "giraffe women"
Credit : 2010transasiarecce/Blogspot
5 / 12 แม่เหล็กดึงดูด
ค่ายผู้อพยพคอยาว ได้รับเงินสนับสนุนให้พึ่งพาตนเองได้จากบรรดานักท่องเที่ยว
ที่ให้ความสนใจกับสตรีคอยาวจากพม่าที่กลายเป็นดาราคนดังไปเลย
Credit : TBandJTravel
6 / 12 ห่วงรอบคอ
ชนเผ่า Kayan Lahwi มีชื่อเสียงมากในเรื่องการสวมห่วงที่รอบคอสตรี
ห่วงที่ขัดเงาเหล่านี้ใช้เพื่อทำให้ลำคอดูยาวกว่าปกติ
เด็กหญิงชาวเผ่าจะเริ่มต้นสวมห่วงคอตอนวัย 5 ขวบ
Credit :Yikibook
7 / 12 เพิ่มห่วงอีก
ต้องใช้เวลาหลายปีที่จะค่อย ๆ เพิ่มจำนวนห่วงบนลำคอ
ด้วยวีธีการนี้จะทำให้ลำคอดูยาวขึ้นกว่าเดิมมาก
อย่างไรก็ตามไม่ใช่ลำคอยาวขึ้น
แต่บริเวณกระดูกตรงไหล่ต่างหากที่ทรุดตัวลง
8 / 12 ผลร้าย
น้ำหนักของห่วงที่ขัดเงา
จะกดทบกระดูกบนไหล่ลง
ทำให้กระดูกบนไหล่ทรุดตัวลง
เลยทำให้ดูเหมือนว่าลำคอดูยาวขึ้น
Credit : WToutiao
9 / 12 ทำไปทำไม
สำหรับชนเผ่า Kayan Lahwi สตรีสวมใส่ห่วงคอเหล่านี้
เพราะห่วงคอดูสวยงามแวววาวและทำให้ลำคอยาว
Credit : Zawjh
10 / 12 สวมห่วงแล้ว
เมื่อห่วงได้สวมลงที่คอแล้วจะไม่มีการถอดออกอีก
ยึ่งไม่ถอดห่วงออกจากลำคอยึ่งทำให้รอบคอดูสวยยิ่งขึ้น
มีหลายกรณีมากที่จะมีการถอดห่วงออก
ก็ต่อเมื่อจะมีการใส่ห่วงที่ยาวกว่าลงแทนที่
หรือเพื่อเหตุผลทางการแพทย์เพื่อการรักษาพยาบาลเท่านั้น
Credit : beggs/Foter
11 / 12 ถอดห่วงออก
สตรีรุ่นใหม่วัยสาวของชนเผ่านี้เริ่มไม่ยอมทำตามประเพณี
ตั้งแต่ปี 2008(2551) กลายเป็นทางเลือกยอดนิยมสำหรับสตรีวัยรุ่น
แม้แต่สตรีที่สูงวัยกว่าก็เริ่มถอดห่วงรอบคอออกด้วยเช่นกัน
แต่พวกเธอมักจะรู้สึกว่าไม่ค่อยเคยชินอยู่หลายวัน
และรอยช้ำรอบลำคอต้องใช้เวลานานกว่าจะจางหายไป
Credit : Helpub
12 / 12 โค่นล้มวัฒนธรรม
รัฐบาลพม่าก็ให้การสนับสนุนการถอดห่วงออกจากรอบคอด้วยเช่นกัน
นี่คือ อดีตสตรีคอยาวที่ได้ถอดห่วงรอบคอออกแล้ว
ชนเผ่ากะเหรี่ยง Kayan Lahwi กำลังเริ่มการเปลี่ยนแปลง/ปรับตัว
ประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมกำลังจะเริ่มกลายเป็นตำนานในอดีต
Credit : Imgarcade
KC Morgan ผู้แต่งเรื่องนี้
หมายเหตุ
มีชนเผ่ากะเหรี่ยงคอยาว Padaung อีกเผ่า
แต่ในบทความนี้ไม่ได้นำเสนอข้อมูล
เรียบเรียง/ที่มา http://bit.ly/1zsKJXN
กะเหรี่ยง กะหร่าง คะหยิ่น ยาง โพลาง สะกอ โปว์ เกอะญอ ปกาเกอะญอ ที่มา
http://bit.ly/1BuGSz2
สัมมาอาชีวะของชนเผ่า Kayan Lahwi
ที่มาของภาพ http://bit.ly/1vle1Lo
ภาพอดีตของสตรีคอยาว
ที่มาของภาพ http://bit.ly/1CSvRmH
พันธการห่วงรอบคอสตรีกะเหรี่ยงคอยาว
ส่วนคนไทยมักจะเรียกสตรีกลุ่มนี้ว่า พวกกะเหรี่ยงคอยาว
ในต่อไปจะใช้คำว่าสตรีคอยาว แทนคำว่า สตรียีราฟ
เมื่อนักท่องเที่ยวชาวตะวันตกมาเยี่ยมเยือนค่ายผู้อพยพลี้ภัยสงคราม
ตั้งแต่ช่วงต้นปี 1990(2533) เป็นต้นมานั้น
พวกเขามักจะตกอกตกใจกับสิ่งที่พบเห็นที่ลำคอชนเผ่านี้ที่ทำตามประเพณีโบราณ
แต่วัฒนธรรมการมีคอยาวกำลังเปลี่ยนแปลงไปในกลุ่มชาว Kayan Lahwi
1 / 12 ชนเผ่า Kayan Lahwi
Kayan เป็นชนเผ่าย่อยของชนเผ่ากะเหรี่ยงแดง Red Karen หรือ Karenni
ที่แต่เดิมอาศัยในประเทศเมียนม่า/พม่า
โดยภายในกลุ่มชนเผ่าย่อย Kayan ก็ยังมีเผ่าย่อย ๆ อีกหลายเผ่า
แต่ชนเผ่า Kayan Lahwi มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันมากที่สจุด
เพราะชนเผ่าสตรีคอยาวเป็นจุดดึงดูดความสนใจนักท่องเที่ยวมากที่สุด
Credit : Galleryhip
2 / 12 อพยพออกจากพม่า
ชาวเผ่า Kayan หลายคนอพยพจากบ้านเกิดเมืองนอน
ในช่วงปลายปี 1980(2523) และตอนต้นปี 1990(2533)
เพราะสาเหตุขัดแย้งกับผู้นำกองกำลังติดอาวุธในพม่า
Credit : Biris Paul Silviu/Moment Mobile/Getty Images
3 / 12 ผู้อพยพ/ลี้ภัยสงคราม
หลังจากลี้ภัยออกจากพม่าแล้ว ชนเผ่า Kayans ก็ถูกบังคับให้ไปอยู่กันในค่ายผู้อพยพ
และพวกเขาต่างตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนใกล้ชายแดนประเทศไทย
มีพื้นที่ที่ทำมาหากินและอยู่อาศัยที่มักจะเรียกกันว่า หมู่บ้านคอยาว Long Neck section
Credit : Katie Garrod/AWL Images/Getty Images
4 / 12 คอยาว
หมู่บ้านคอยาวเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวสนใจมากที่สุด
เพราะชนเผ่า Kayan Lahwi ที่รู้จักกันดีว่า
สตรีคอยาว/ สตรียีราฟ "giraffe women"
Credit : 2010transasiarecce/Blogspot
5 / 12 แม่เหล็กดึงดูด
ค่ายผู้อพยพคอยาว ได้รับเงินสนับสนุนให้พึ่งพาตนเองได้จากบรรดานักท่องเที่ยว
ที่ให้ความสนใจกับสตรีคอยาวจากพม่าที่กลายเป็นดาราคนดังไปเลย
Credit : TBandJTravel
6 / 12 ห่วงรอบคอ
ชนเผ่า Kayan Lahwi มีชื่อเสียงมากในเรื่องการสวมห่วงที่รอบคอสตรี
ห่วงที่ขัดเงาเหล่านี้ใช้เพื่อทำให้ลำคอดูยาวกว่าปกติ
เด็กหญิงชาวเผ่าจะเริ่มต้นสวมห่วงคอตอนวัย 5 ขวบ
Credit :Yikibook
7 / 12 เพิ่มห่วงอีก
ต้องใช้เวลาหลายปีที่จะค่อย ๆ เพิ่มจำนวนห่วงบนลำคอ
ด้วยวีธีการนี้จะทำให้ลำคอดูยาวขึ้นกว่าเดิมมาก
อย่างไรก็ตามไม่ใช่ลำคอยาวขึ้น
แต่บริเวณกระดูกตรงไหล่ต่างหากที่ทรุดตัวลง
Credit :Mark Lehmkuhler/Foter
Credit : http://bit.ly/17ya4J0
8 / 12 ผลร้าย
น้ำหนักของห่วงที่ขัดเงา
จะกดทบกระดูกบนไหล่ลง
ทำให้กระดูกบนไหล่ทรุดตัวลง
เลยทำให้ดูเหมือนว่าลำคอดูยาวขึ้น
Credit : WToutiao
9 / 12 ทำไปทำไม
สำหรับชนเผ่า Kayan Lahwi สตรีสวมใส่ห่วงคอเหล่านี้
เพราะห่วงคอดูสวยงามแวววาวและทำให้ลำคอยาว
Credit : Zawjh
10 / 12 สวมห่วงแล้ว
เมื่อห่วงได้สวมลงที่คอแล้วจะไม่มีการถอดออกอีก
ยึ่งไม่ถอดห่วงออกจากลำคอยึ่งทำให้รอบคอดูสวยยิ่งขึ้น
มีหลายกรณีมากที่จะมีการถอดห่วงออก
ก็ต่อเมื่อจะมีการใส่ห่วงที่ยาวกว่าลงแทนที่
หรือเพื่อเหตุผลทางการแพทย์เพื่อการรักษาพยาบาลเท่านั้น
Credit : beggs/Foter
11 / 12 ถอดห่วงออก
สตรีรุ่นใหม่วัยสาวของชนเผ่านี้เริ่มไม่ยอมทำตามประเพณี
ตั้งแต่ปี 2008(2551) กลายเป็นทางเลือกยอดนิยมสำหรับสตรีวัยรุ่น
แม้แต่สตรีที่สูงวัยกว่าก็เริ่มถอดห่วงรอบคอออกด้วยเช่นกัน
แต่พวกเธอมักจะรู้สึกว่าไม่ค่อยเคยชินอยู่หลายวัน
และรอยช้ำรอบลำคอต้องใช้เวลานานกว่าจะจางหายไป
Credit : Helpub
12 / 12 โค่นล้มวัฒนธรรม
รัฐบาลพม่าก็ให้การสนับสนุนการถอดห่วงออกจากรอบคอด้วยเช่นกัน
นี่คือ อดีตสตรีคอยาวที่ได้ถอดห่วงรอบคอออกแล้ว
ชนเผ่ากะเหรี่ยง Kayan Lahwi กำลังเริ่มการเปลี่ยนแปลง/ปรับตัว
ประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมกำลังจะเริ่มกลายเป็นตำนานในอดีต
Credit : Imgarcade
KC Morgan ผู้แต่งเรื่องนี้
หมายเหตุ
มีชนเผ่ากะเหรี่ยงคอยาว Padaung อีกเผ่า
แต่ในบทความนี้ไม่ได้นำเสนอข้อมูล
เรียบเรียง/ที่มา http://bit.ly/1zsKJXN
กะเหรี่ยง กะหร่าง คะหยิ่น ยาง โพลาง สะกอ โปว์ เกอะญอ ปกาเกอะญอ ที่มา http://bit.ly/1BuGSz2
สัมมาอาชีวะของชนเผ่า Kayan Lahwi
ที่มาของภาพ http://bit.ly/1vle1Lo
ภาพอดีตของสตรีคอยาว
ที่มาของภาพ http://bit.ly/1CSvRmH