ขอออกตัวว่าตัวเองเป็นอาจารย์มหาลัยสาย IT อ่อนประสบการณ์ในเรื่องการสอนค่ะ ยังไงๆ ก็ยังคิดว่าตัวเองต้องศึกษาหาเทคนิคใหม่ๆ เข้าตัวตลอด ยากก็ตงนี้ เทคโนโลยีมันไปไว พี่เปลี่ยนโปรแกรมสอนได้ทุกเทอม 5555
ก็ไม่ได้เก่งไรมากอ่ะค่ะ เคยทำงานบริษัทสาย software dev มาก่อน แต่จับพลัดจับผลู ต้องมาเป็นอาจารย์ และก็รู้สึกว่าสอน lab พวกวิชาปฏิบัติงานสนุกกว่า วิชาคอมด้านทฤษฎี มันง่วงแท้พี่สอนแปล๊บบบเดียวมะมีอะไรจะคุยแระ ก็รู้สึกว่าสอนเขียนโปรแกรมสบายใจกว่าน่ะ ก็เลยเหมาวิชาแนวเขียนโปรแกรมมาเกือบหมด
แต่.....ยากอ่ะสอนไงให้เด็กมันเก็ตเนี่ย
ปัญหามันก็มีทั้ง 2 ฝ่ายอ่ะ นะทั้งอาจารย์และเด็ก แต่เด็กสมัยนี้นะ ต่างกับสมัยเราลิบลับ ขนาดเพื่อนเราสมัยเรียนที่ว่าแย่ๆ ไม่ตั้งใจเรียน เวลาเข้าสอบ มันยังซีรอกโค้ดจากเพื่อน ๆเป็นปึ๊ง เพื่อความอุ่นใจเข้าห้องสอบ ยังมานั่งติวกันก่อนสอบ ก็ยังเห็นถึงความพยายามของมันน่ะนะ
อันนี้อัลไร มาสอบเหมือนมากินข้าว มีตังก็ได้กิน เดินตัวเปล่าเข้าห้องสอบทั้งๆ ที่เป็นวิชาปฏิบัติ จะยกแม่น้ำมหาสมุทรเข้าห้องสอบก็ได้ (อันนี้ก็เว่อไป อิอิ) ยกตัวอย่างเด็กบางคนนะ บางคนดีเริศก็มีค่ะ
อ้อๆ แล้วมีไอ้ประเภท เวลาเรียน นั่งมึนๆ อึนๆ อ.ไปไหนต่อ กดไรต่อ ป๊าดดด นี่น้องไม่ได้ยุ้ย จิรนันท์ มโนแจ่มไปตามพี่เลยหรอ น้องนั่งรอแต่ว่า step ต่อไป กดปุ่มไหนต่อ แค่เนี้ยหรอ พี่เพลียหนักเลยอ่ะ
แต่สิ่งที่เราสอนหรือรายละเอียดไรต่างนี่ส่วนใหญ่ บอกได้เลย เราก็ถอดมาจากสิ่งที่เราได้รับมาจากอ.อ่ะนะ เราได้จากอาจารย์ คือ อ.จะให้งานโปรเจ็คไปทำท้ายเทอมตลอด และเราก็ได้จากตรงนั้นตลอด สรุปคือศึกษาจากตัวเองเป็นหลักอ่ะมันได้จากการฝึกปฏิบัติ, หาคำตอบด้วยตนเอง และความสนใจของเราอ่ะ ถึงจะทำงานนั้นส่งอ.ได้ รักอ.ค่ะ จุ๊บๆ
ก็บางคนบรรลุชั้นโสดาบันได้จากการนั่งอ่านชีทในห้องสอบ และได้อยู่กับตัวเองในเวลานั้น และรู้ว่ากรูต้องพึ่งตัวเองพึ่งใครมะได้และ นั่นแหละเอาจริงๆเค้าก็ทำได้น่ะ
ที่เล่ามานี้คือมุมมองของเด็กที่ไม่ใช่หัวกะทินะคะ ถ้าอ.ที่สอน ม.ชื่อดัง ย่านชุมชนพลุกพล่าน ก็อาจจะไม่เข้าใจอิชั้นอีก สอนเด็กเก่งที่ตั้งใจจะมาเรียน กะเด็กพ่อแม่จ้างมาเรียนก็ต่างกันอีกค่ะ กราบค่ะ
สรุปว่าอย่าไปโทษเด็ก เอาที่ตัวเราทำให้ดีที่สุดก่อนดีกว่า ปัญหาคือ
1. สอนไงให้เด็กมันคิดเองต่อยอดได้อ่ะ แบบเปลี่ยนโจทย์ทีโง่ทีเงี้ย ได้ข้างหน้าแล้วลืมข้างหลังโอ๊ยพี่เพลีย พี่ต้องสอนไงเนี่ย
2. นี่เป็นวิชาปราบเซียนรึป่าว วิชาอื่นเป็นด้วยมั๊ย อ.แคลคุลัส อ.ฟิสิก รู้สึกอย่างไร บอกหน่อย
3. อยากแชร์ประสบการณ์ระยะยาวน่ะค่ะ แชร์โค้ด แชร์แบบฝึกหัด แชร์สไลด์ แชร์เอกสาร บราๆๆๆ อิอิ
4. แชร์ในมุมมองน้อง ๆ นักศึกษาด้วยดีเลยค่ะ พี่อยากรู้ฟามรู้สึกน้อง พี่เห็นน้องๆ เป็นเพื่อนร่วมงานของพี่นะคะ พี่ไม่คิดว่าน้องเป็นลูกศิษย์ที่พี่คิดจะสั่งให้ทำไรก็ได้ พี่ไม่ใช่แนวนั้น น้องๆ ทุกคนคือโจทย์ปัญหาของพี่ค่ะ
แต่ยังไงเราบอกได้เลยว่าเราเต็มที่กับมันนะ เตรียมสอนหนักถึงแม้จะเป็นวิชาเดิม เทอมใหม่ๆ มาเราก็ยังเตรียมสอน ปรับเอกสาร ปรับเนื้อหาให้ดีขึ้น, เตรียมแบบฝึกหัดแบบ Full Option ตลอด ...แต่คงยังไม่ดีพอ แป่วววว
มันเป็นปัญหาระดับชาติของเค้าเลยนะ ถ้าเค้ายังจับจุดไม่ได้ เค้าต้องสอนไปอีกกี่ปีกว่าจะเกษียณ อยากให้เด็กได้อะไรจากเราให้มากที่สุด อย่างน้อยได้มีโปรเจ็คจบดีๆ ทำด้วยตัวของเค้าเองและเห็นเด็กจบไปทำงานดีๆ ตรงตามสายที่เรียนเราก็ภูมิใจไปกะเค้าอ่ะ
ทุกสิ่งที่อยากจะพูดอยากจะบอก พี่พรั่งพรูมาหมดแระ พี่สบายใจแระค่ะ อิอิ
ไม่ได้เป็นขาประจำห้องใดห้องหนึ่งนะคะ ส่องได้ทุกห้องค่ะ ตามแต่อารมในช่วงนั้น
สอนเขียนโปรแกรมไงให้เด็กมันเข้าใจ ไมมันยากเยี่ยงนี้
ก็ไม่ได้เก่งไรมากอ่ะค่ะ เคยทำงานบริษัทสาย software dev มาก่อน แต่จับพลัดจับผลู ต้องมาเป็นอาจารย์ และก็รู้สึกว่าสอน lab พวกวิชาปฏิบัติงานสนุกกว่า วิชาคอมด้านทฤษฎี มันง่วงแท้พี่สอนแปล๊บบบเดียวมะมีอะไรจะคุยแระ ก็รู้สึกว่าสอนเขียนโปรแกรมสบายใจกว่าน่ะ ก็เลยเหมาวิชาแนวเขียนโปรแกรมมาเกือบหมด
แต่.....ยากอ่ะสอนไงให้เด็กมันเก็ตเนี่ย
ปัญหามันก็มีทั้ง 2 ฝ่ายอ่ะ นะทั้งอาจารย์และเด็ก แต่เด็กสมัยนี้นะ ต่างกับสมัยเราลิบลับ ขนาดเพื่อนเราสมัยเรียนที่ว่าแย่ๆ ไม่ตั้งใจเรียน เวลาเข้าสอบ มันยังซีรอกโค้ดจากเพื่อน ๆเป็นปึ๊ง เพื่อความอุ่นใจเข้าห้องสอบ ยังมานั่งติวกันก่อนสอบ ก็ยังเห็นถึงความพยายามของมันน่ะนะ
อันนี้อัลไร มาสอบเหมือนมากินข้าว มีตังก็ได้กิน เดินตัวเปล่าเข้าห้องสอบทั้งๆ ที่เป็นวิชาปฏิบัติ จะยกแม่น้ำมหาสมุทรเข้าห้องสอบก็ได้ (อันนี้ก็เว่อไป อิอิ) ยกตัวอย่างเด็กบางคนนะ บางคนดีเริศก็มีค่ะ
อ้อๆ แล้วมีไอ้ประเภท เวลาเรียน นั่งมึนๆ อึนๆ อ.ไปไหนต่อ กดไรต่อ ป๊าดดด นี่น้องไม่ได้ยุ้ย จิรนันท์ มโนแจ่มไปตามพี่เลยหรอ น้องนั่งรอแต่ว่า step ต่อไป กดปุ่มไหนต่อ แค่เนี้ยหรอ พี่เพลียหนักเลยอ่ะ
แต่สิ่งที่เราสอนหรือรายละเอียดไรต่างนี่ส่วนใหญ่ บอกได้เลย เราก็ถอดมาจากสิ่งที่เราได้รับมาจากอ.อ่ะนะ เราได้จากอาจารย์ คือ อ.จะให้งานโปรเจ็คไปทำท้ายเทอมตลอด และเราก็ได้จากตรงนั้นตลอด สรุปคือศึกษาจากตัวเองเป็นหลักอ่ะมันได้จากการฝึกปฏิบัติ, หาคำตอบด้วยตนเอง และความสนใจของเราอ่ะ ถึงจะทำงานนั้นส่งอ.ได้ รักอ.ค่ะ จุ๊บๆ
ก็บางคนบรรลุชั้นโสดาบันได้จากการนั่งอ่านชีทในห้องสอบ และได้อยู่กับตัวเองในเวลานั้น และรู้ว่ากรูต้องพึ่งตัวเองพึ่งใครมะได้และ นั่นแหละเอาจริงๆเค้าก็ทำได้น่ะ
ที่เล่ามานี้คือมุมมองของเด็กที่ไม่ใช่หัวกะทินะคะ ถ้าอ.ที่สอน ม.ชื่อดัง ย่านชุมชนพลุกพล่าน ก็อาจจะไม่เข้าใจอิชั้นอีก สอนเด็กเก่งที่ตั้งใจจะมาเรียน กะเด็กพ่อแม่จ้างมาเรียนก็ต่างกันอีกค่ะ กราบค่ะ
สรุปว่าอย่าไปโทษเด็ก เอาที่ตัวเราทำให้ดีที่สุดก่อนดีกว่า ปัญหาคือ
1. สอนไงให้เด็กมันคิดเองต่อยอดได้อ่ะ แบบเปลี่ยนโจทย์ทีโง่ทีเงี้ย ได้ข้างหน้าแล้วลืมข้างหลังโอ๊ยพี่เพลีย พี่ต้องสอนไงเนี่ย
2. นี่เป็นวิชาปราบเซียนรึป่าว วิชาอื่นเป็นด้วยมั๊ย อ.แคลคุลัส อ.ฟิสิก รู้สึกอย่างไร บอกหน่อย
3. อยากแชร์ประสบการณ์ระยะยาวน่ะค่ะ แชร์โค้ด แชร์แบบฝึกหัด แชร์สไลด์ แชร์เอกสาร บราๆๆๆ อิอิ
4. แชร์ในมุมมองน้อง ๆ นักศึกษาด้วยดีเลยค่ะ พี่อยากรู้ฟามรู้สึกน้อง พี่เห็นน้องๆ เป็นเพื่อนร่วมงานของพี่นะคะ พี่ไม่คิดว่าน้องเป็นลูกศิษย์ที่พี่คิดจะสั่งให้ทำไรก็ได้ พี่ไม่ใช่แนวนั้น น้องๆ ทุกคนคือโจทย์ปัญหาของพี่ค่ะ
แต่ยังไงเราบอกได้เลยว่าเราเต็มที่กับมันนะ เตรียมสอนหนักถึงแม้จะเป็นวิชาเดิม เทอมใหม่ๆ มาเราก็ยังเตรียมสอน ปรับเอกสาร ปรับเนื้อหาให้ดีขึ้น, เตรียมแบบฝึกหัดแบบ Full Option ตลอด ...แต่คงยังไม่ดีพอ แป่วววว
มันเป็นปัญหาระดับชาติของเค้าเลยนะ ถ้าเค้ายังจับจุดไม่ได้ เค้าต้องสอนไปอีกกี่ปีกว่าจะเกษียณ อยากให้เด็กได้อะไรจากเราให้มากที่สุด อย่างน้อยได้มีโปรเจ็คจบดีๆ ทำด้วยตัวของเค้าเองและเห็นเด็กจบไปทำงานดีๆ ตรงตามสายที่เรียนเราก็ภูมิใจไปกะเค้าอ่ะ
ทุกสิ่งที่อยากจะพูดอยากจะบอก พี่พรั่งพรูมาหมดแระ พี่สบายใจแระค่ะ อิอิ
ไม่ได้เป็นขาประจำห้องใดห้องหนึ่งนะคะ ส่องได้ทุกห้องค่ะ ตามแต่อารมในช่วงนั้น