เพลงคือสื่อจรรโลงใจอย่างหนึ่ง เวลาเราสนุก เวลาเราทุก เวลาเราเศร้า อกหัก เรามักจะใช้เพลงเป็นสิ่งจรรโลงใจ
แต่คุณรู้มั้ยว่า มีบทเพลงนึงที่ทำให้คนฆ่าตัวตายมาแล้วกว่า 200 รายทั่วโลก
เพลงนั้นคือ "gloomy sunday"
กลูมมี่ ซันเดย์เป็นเพลงที่แต่งขึ้นโดยนักกวีชาวฮังการีผู้หนึ่ง ชื่อว่า "วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า" แต่ง
โดยหนุ่มฮังกาเรียนนามเรสโซ เซเรสส์ (Reszo Seress)
มันเริ่มมาจากเมื่อเดือนธันวาคม ปี1932
เรสโซเป็นที่เป็นนักแต่งเพลงยากจน เขาพยายามหาเลี้ยงชีพอยู่ในนครปารีส แต่ก็ไม่เป็นผล
สำเร็จ เพราะเพลงแต่ละเพลงของเขาไม่ได้รับความสนใจ อีกทั้งคนรักของเขาก็ไม่เห็นดีเห็นงาม
ด้วยจนทะเลาะกันอยู่หลายครั้ง ในที่สุดในวันหนึ่ง ทั้งคู่ก็ต้องถึงคราวแยกทางกัน
ด้วยเหตุนี้ ในวันอาทิตย์วันหนึ่ง มันเป็นวันฝนตก เรสโซที่ทั้งหดหู่และเศร้าหมองด้วยเหตุการณ์ต่างๆก็ได้แต่งเพลงนี้ขึ้นในวันนั้น ซึ่งเป็นการบรรเลงทำนองด้วยเปียโน เขาใช้เวลาเพียง 30 นาทีก็ประพันธ์เพลงเสร็จ จากนั้นจึงได้ส่งไปยังสำนักพิมพ์ต่างๆแต่ก็ยังไม่ได้รับการยอมรับ
และสุดท้ายก็มีสำนักพิมพ์บทประพันธ์แห่งหนึ่งรับไว้ นี่เป็นจุดเริ่มต้นของโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้นหลังจากเพลงนี้ได้ถูกเผยแพร่ไปยังมหานครต่างๆทั่วโลก.....
ที่กรุงเบอร์ลิน เยอรมันนี ชายหนุ่มคนหนึ่งได้ขอให้วงดนตรีเล่นเพลงกลูมมี่ซันเดย์ให้ฟัง หลังจากนั้น เขากลับบ้านและระเบิดศีรษะด้วยปืนรีวอลเวอร์หลังจาก
บ่นกับญาติๆว่าเขารู้สึกกดดันอย่างรุนแรงกับท่วงทำนองเพลงที่เขาไม่อาจลบมันออกไปได้
สัปดาห์ต่อมาที่กรุงเบอร์ลินสาวผู้ช่วยร้านขายของแขวนตัวตายอยู่ในแฟลตที่พัก พบบทเพลง
กลูมมี่ซันเดย์อยู่ที่ห้องของเธอด้วย
สองวันหลังจากนั้น เลขานุการิณีในนิวยอร์กได้ฆ่าตัวตายด้วย
แก๊ส ในจดหมายลาตายได้ขอร้องให้เล่นเพลงนี้ในงานศพของเธอด้วย
สัปดาห์ถัดมา ชาวนิวยอร์ก
อีกรายเป็นชายวัย 82 ได้กระโดดหน้าต่างอพาร์ตเมนท์ชั้น 7 ลงมาตาย โดยก่อนตายเขาได้เล่นเพลงนี้
ในเวลาไล่เลี่ยกัน วัยรุ่นกรุงโรมก็กระโดดสะพานฆ่าตัวตายหลังจากที่ได้ฟังเพลงมรณะนี้
เช่นเดียวกัน
ไม่นานนักเจ้าหน้าที่รัฐบาลผู้หนึ่งก็ได้ยิงตัวตายหลังจากที่ได ้อ่านเนื้อเพลงนี้
รายต่อมาเป็นเด็กหญิงคนหนึ่งที่พยายามกินยาพิษเมื่อได้ยินเพลงน ี้จากเครื่องเล่นแผ่นเสียง
ที่ภัตตาคารแห่งหนึ่งในกรุงบูตาเบส ชายคนหนึ่งก็ไดยิงตัวตายในขณะที่เพลงนี้กำลังบรรเลงอยู่
และรายอื่นๆอีกมากมาย.......
และผู้ประพันธ์เพลงนี้เองก็ต้องเจอชะตากรรมอันเลวร้าย เมือคิดจะไปคืน
ดีกับคนรัก แต่ในเวลาต่อมาเขาก็รู้ว่า คนรักของเขาได้กินยาพิษฆ่าตัวตายไปแล้ว ที่ข้างร่างของ
เธอคือแผ่นกระดาษบทเพลงกลูมมี่ซันเดย์นั่นเอง
รัฐบาลฮังการีได้สั่งห้ามไม่ให้เปิดเพลงนี้ออก
อากาศ แต่เหตุการณ์นี้ก็ยังเกิดในที่อื่นๆอีก เช่นที่ประเทศอังกฤษ ซึ่งทางบีบีซีก็ได้ถูกสั่งห้ามเปิด
เพลงนี้เช่นกัน แต่ในสหรัฐอเมริกา ถึงแม้จะเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น ก็ตัดสินใจที่จะไม่ทำอย่างรัฐบาลอังกฤษและฮังการี
โดยสรุปแล้วการฆ่าตัวตายนั้นได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเพลงนี้ประมาณ
200 รายทั่วโลก และในปี 1968 ชาวอังกฤษคนหนึ่งก็ได้กระโดดจากชั้น 8 ของอาคารแห่งหนึ่ง
เขาคือ เรสโซ เซเรสส์ ซึ่งไม่สามารถแต่งเพลงได้อีกหลังจากการแต่งทำนองเพลง "วันอาทิตย์ที่
แสนเศร้า"
และนี่เองคือที่มาสำหรับบทเพลงแห่งความตายที่มีชื่อว่า "วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า" หรือ
"gloomy sunday"
ผลกระทบของเพลงมรณะในประเทศไทย
จากกระแสการฟังเพลงผ่านอิน
เทอร์เน็ตที่มีมากขึ้นนั้น ล่าสุดพบว่ามีคนไทยกลุ่มหนึ่งนำบทเพลงมรณะ ที่อ้างว่ามีผู้ฟังแล้วฆ่าตัว
ตายกว่า 200 คน มาเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์หลายแห่ง หลังจากผู้สื่อข่าวสืบหาข้อมูลตามกระทู้ใน
เว็บไซต์ต่างๆ พบว่า มีการนำเพลงมรณะมาเผยแพร่จริง ชื่อเพลง "กลูมมี่ซันเดย์" แต่งโดยชาว
ฮังการีผู้ผิดหวังในชีวิต เนื่องจากแฟนสาวฆ่าตัวตาย
ทั้งนี้ เว็บไซต์แห่งหนึ่งได้อ้างตัวอย่างผู้ที่ฆ่า
ตัวตายจากเพลงข้างต้น โดยเขียนโพสต์ลงในกระทู้ว่า ที่เยอรมนีชายหนุ่มคนหนึ่งขอให้วงดนตรี
เล่นเพลงกลูมมี่ซันเดย์ให้ฟัง หลังจากเขากลับบ้านก็บ่นกับสมาชิกในครอบครัวว่า รู้สึกกดดันอย่าง
รุนแรงกับท่วงทำนองเพลงนี้ และไม่อาจลืมหรือลบมันออกไปจากความคิดได้ ในที่สุดก็ตัดสินใจ
ใช้ปืนฆ่าตัวตาย เช่นเดียวกับเลขานุการหญิงในเมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ที่ฆ่าตัวตายด้วยแก๊ส
ซึ่งเขียนจดหมายลาตายระบุว่า ให้เล่นเพลงกลูมมี่ซันเดย์ในงานศพของเธอด้วย เจ้าของกระทู้ยืน
ยันว่ามีผู้ฆ่าตัวตายกว่า 200 คนเนื่องจากฟังเพลงข้างต้น
ทั้งนี้ความหมายในเนื้อเพลง กลูมมี่ซันเดย์โดยสรุป จะเกี่ยวข้องกับวันอาทิตย์แสนเศร้า การใช้ชีวิตอยู่ในความมืดตลอดกาล ผู้ที่สูญเสียคนรักไปต้องการคนรักคืนมา แต่เทวดาคงไม่ยอม ดังนั้นคนนั้นจึงตัดสินใจที่จะไปตามหาคนรักในสวรรค์เสียเอง ขอให้ทุกคนไม่ต้องเสียใจ เพราะความตายจะทำให้เขาได้สัมผัสคนรักอีกครั้งหนึ่ง
ด้าน น.ส.เกสินี ซาวนด์โปรดิวเซอร์ เจ้าของห้องบันทึกเสียงชื่อดังแห่งหนึ่ง
ตั้งข้อสังเกตหลังจากฟังเพลงกลูมมี่ซันเดย์ว่า เพลงมรณะนี้มีลักษณะพิเศษคือ แต่งด้วยทำนอง
และเมโลดี้ที่วงการแต่งเพลงเรียกกันว่า "เพลงดาร์ก" หรือเพลงกดดันแบบหนักหน่วง ทำให้ฟัง
แล้วรู้สึกหดหู่สะเทือนใจขึ้นมาอย่างรุนแรง นอกจากนี้ เสียงร้องของผู้ร้องเพลงนี้ยังมีความ
โหยหวนเป็นอย่างมาก จึงอาจเป็นไปได้ที่จะทำให้คนฟังบางคนอยากฆ่าตัวตาย
"เพลงนี้มีองค์ประกอบหลายอย่างที่ลงตัว จึงกลายเป็นเพลงมรณะ ทำให้คนฟังอยากฆ่าตัวตายได้ เสียงร้องที่โหยหวนเป็นจุดเด่นที่สุดของเพลงนี้ รวมกับท่วงทำนองและเมโลดี้ที่ดาร์กมาก แต่เนื้อร้องไม่ได้มีอะไรพิเศษนัก ถ้าเปลี่ยนทำนองเพลงนี้เป็นแบบเพลงป๊อป หรือเปลี่ยนเสียงคนร้อง เพลงนี้ก็แทบไม่มีความรันทดเหลืออยู่เลย" ผู้ เชี่ยวชาญด้านเสียงดนตรีกล่าววิเคราะห์
ด้านนายณรงค์วิทย์ เตชะธนะวัฒน์ นักแต่งเพลงค่ายแกรมมี่ กล่าวว่า บทเพลงที่มีเนื้อหาเศร้าสร้อยท่วงทำนองที่ฟังแล้วรู้สึกหดหู่นั้น
จะมีผลต่อสภาพจิตใจของผู้ฟังเป็นอย่างมาก และอาจเป็นไปได้ว่าหากผู้ฟังที่อยู่ในภาวะที่เศร้า เสียใจ อกหักรักคุด
หรือมีเรื่องราวที่กระทบจิตใจที่รุนแรงอาจนำไปสู่การคิดสั้นฆ่าตัวตายได้
ด้าน น.พ.บัณฑิต ศรไพศาล ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์
กรมสุขภาพจิต กล่าวว่า บทเพลงที่มีเนื้อหาเศร้าสร้อย ความไม่สมหวัง การสูญเสีย ซึ่งฟังแล้วทำ
ให้สภาวะจิตใจห่อเหี่ยว มักมีอิทธิพลสูงสำหรับผู้ฟังที่อยู่ในสภาวะจิตใจที่ไม่ปกติ เช่น ผู้ที่เพิ่งสูญเสียคนรัก คนอกหัก คนไม่สมหวังในชีวิต เมื่อฟัง
เพลงที่มีเนื้อหาเศร้าสร้อย ก็จะยิ่งทำให้สะเทือนอารมณ์ และหากเนื้อหาของบทเพลงชี้นำไปสู่การ
ฆ่าตัวตาย ก็เป็นไปได้สูงที่ผู้ฟังจะทำตามการชี้นำนั้น
"เด็กวัยรุ่นอายุระหว่าง 12-18 ปี เป็นวัยที่
เสี่ยงที่สุด เพราะภาวะจิตใจไม่คงที่ ไม่เข้มแข็ง เป็นช่วงที่เปราะบาง มักทนแรงเสียดทานไม่ค่อย
ได้ หากมีเรื่องราวที่ไม่สมหวัง ผิดหวัง เขาจะรู้สึกว่าชีวิตไม่มีค่า โดดเดี่ยว อ้างว้าง และเมื่อมี
โอกาสอยู่คนเดียวก็จะคิดมากฟุ้งซ่าน และหากเจอสิ่งเร้าที่ชี้นำไปสู่การฆ่าตัวตายก็เป็นไปได้สูงที่
คนกลุ่มนี้จะทำตาม" น.พ.บัณฑิต กล่าว
น.พ.บัณฑิต กล่าวด้วยว่า หากมีญาติหรือคนรู้จักโดย
เฉพาะเด็กวัยรุ่นที่ผิดหวังในชีวิต มีเรื่องที่กระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรง ผู้ใกล้ชิดจะต้องคอย
ดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ และไม่สมควรที่จะให้ฟังเพลงเศร้าหรืออยู่คนเดียวตามลำพัง ทั้งนี้คนใกล้
ชิดจะต้องคอยปลอบใจ คอยให้กำลังใจ ต้องทำให้คนผู้นั้นเห็นว่ายังมีความสำคัญและยังมีคน
คอยห่วงใหญ่อยู่
เนื้อเพลง เพลง "วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้แต่งโดย ลาฟโร จาร์วัว
ทำนองโดย เรสโซ เซเรสส์
Sunday is gloomy,
My hours are slumberless,
Dearest the shadows
I live with are numberless
Little white flowers will
never awaken you
Not where the black coach
of sorrow has taken you
Angels have no thought of
ever returning you
Would they be angry
if I thought of joining you
Gloomy Sunday.
Sunday is gloomy
with shadows I spend it all
My heart and I have
decided to end it all
Soon there'll be flowers
and prayers that are sad,
I know, let them not weep,
let then know
that I'm glad to go
Death is no dream,
for in death I'm caressing you
With the last breath of my
soul I'll be blessing you
Gloomy Sunday
Dreaming
I was only dreaming
I wake and I find you
asleep in the deep of
my heart dear
Darling I hope that my dream
never haunted you
My heart is telling you
how much I wanted you
Gloomy Sunday
คำแปล
วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า
วันอาทิตย์นี้ช่างแสนเศร้า ฉันไม่สามารถจะล้มตัวลงนอนได้
ต้องใช้ชีวิตอยู่กับความมืดที่ไม่มีวันจบสิ้น
ดอกไม้ขาวเหล่านั้น จะไม่ช่วยให้เธอฟื้นขึ้นมาได้ (ขอบอกก่อนนิดนึงว่า
ชาวตะวันตกเวลางานศพเค้าจะมาไว้อาลัยคนตายด้วยดอกไม้สีขาว)
ไม่แม้กระทั้งที่ที่รถสีดำคันนั้นพาเธอไป (รถขนศพเมืองนอกเค้าจะเป็นเหมือน
ลิมูซีนคันเล็กสีดำ)
เหล่าเทวดาทั้งหลายจะไม่มีวันคืนเธอกลับมาหาฉันได้
พวกเค้าจะโกรธมั๊ยถ้าฉันจะไปหาเธอแทน (หมายความว่า ถ้าเทวดาคืนเธอมา
ไม่ได้ ฉันก็จะฆ่าตัวตายไปหาเธอเอง)
วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า
วันอาทิตย์นี้ช่างแสนเศร้า ฉันอยู่แต่ในความมืดมานานพอแล้ว
ฉันและหัวใจของฉันได้ตัดสินใจที่จะจบทุกอย่างแล้ว
อีกไม่นานฉันก็จะห้อมล้อมไปด้วยธูปเทียนและคำภาวนา ฉันรู้ว่ามันเศร้า
แต่อย่าร้องไห้ไปเลย เพราะว่านี่เป็นสิ่งที่ฉันต้องการทำ
ความตายสำหรับฉันไม่ใช่ความฝัน เพราะว่าฉันจะได้สัมผัสเธออีกครั้ง
ด้วยลมหายใจสุดท้ายของฉัน ฉันจะอยู่เคียงข้างเธอ
วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า
นั่นเป็นเพียงแค่ความฝัน
ฉันตื่นขึ้นมาเห็นเธออยู่เคียงข้างในใจของฉัน
ฉันหวังว่าความฝันของฉันนั้นไม่ได้ทำให้เธอเศร้า
เพราะหัวใจของฉันกำลังบอกเธอว่า ฉันต้องการเธอมากแค่ไหนวัว วั
วันอาทิตย์ที่เเสนเศร้า ...............
เครดิต
http://www.oknation.net/blog/xpresso/2007/03/09/entry-1
"gloomy sunday" บทเพลงแห่งความตาย เพลงที่ทำให้ผู้ฟังฆ่าตัวตายกว่า 200 รายทั่วโลก
แต่คุณรู้มั้ยว่า มีบทเพลงนึงที่ทำให้คนฆ่าตัวตายมาแล้วกว่า 200 รายทั่วโลก
เพลงนั้นคือ "gloomy sunday"
กลูมมี่ ซันเดย์เป็นเพลงที่แต่งขึ้นโดยนักกวีชาวฮังการีผู้หนึ่ง ชื่อว่า "วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า" แต่ง
โดยหนุ่มฮังกาเรียนนามเรสโซ เซเรสส์ (Reszo Seress)
มันเริ่มมาจากเมื่อเดือนธันวาคม ปี1932
เรสโซเป็นที่เป็นนักแต่งเพลงยากจน เขาพยายามหาเลี้ยงชีพอยู่ในนครปารีส แต่ก็ไม่เป็นผล
สำเร็จ เพราะเพลงแต่ละเพลงของเขาไม่ได้รับความสนใจ อีกทั้งคนรักของเขาก็ไม่เห็นดีเห็นงาม
ด้วยจนทะเลาะกันอยู่หลายครั้ง ในที่สุดในวันหนึ่ง ทั้งคู่ก็ต้องถึงคราวแยกทางกัน
ด้วยเหตุนี้ ในวันอาทิตย์วันหนึ่ง มันเป็นวันฝนตก เรสโซที่ทั้งหดหู่และเศร้าหมองด้วยเหตุการณ์ต่างๆก็ได้แต่งเพลงนี้ขึ้นในวันนั้น ซึ่งเป็นการบรรเลงทำนองด้วยเปียโน เขาใช้เวลาเพียง 30 นาทีก็ประพันธ์เพลงเสร็จ จากนั้นจึงได้ส่งไปยังสำนักพิมพ์ต่างๆแต่ก็ยังไม่ได้รับการยอมรับ
และสุดท้ายก็มีสำนักพิมพ์บทประพันธ์แห่งหนึ่งรับไว้ นี่เป็นจุดเริ่มต้นของโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้นหลังจากเพลงนี้ได้ถูกเผยแพร่ไปยังมหานครต่างๆทั่วโลก.....
ที่กรุงเบอร์ลิน เยอรมันนี ชายหนุ่มคนหนึ่งได้ขอให้วงดนตรีเล่นเพลงกลูมมี่ซันเดย์ให้ฟัง หลังจากนั้น เขากลับบ้านและระเบิดศีรษะด้วยปืนรีวอลเวอร์หลังจาก
บ่นกับญาติๆว่าเขารู้สึกกดดันอย่างรุนแรงกับท่วงทำนองเพลงที่เขาไม่อาจลบมันออกไปได้
สัปดาห์ต่อมาที่กรุงเบอร์ลินสาวผู้ช่วยร้านขายของแขวนตัวตายอยู่ในแฟลตที่พัก พบบทเพลง
กลูมมี่ซันเดย์อยู่ที่ห้องของเธอด้วย
สองวันหลังจากนั้น เลขานุการิณีในนิวยอร์กได้ฆ่าตัวตายด้วย
แก๊ส ในจดหมายลาตายได้ขอร้องให้เล่นเพลงนี้ในงานศพของเธอด้วย
สัปดาห์ถัดมา ชาวนิวยอร์ก
อีกรายเป็นชายวัย 82 ได้กระโดดหน้าต่างอพาร์ตเมนท์ชั้น 7 ลงมาตาย โดยก่อนตายเขาได้เล่นเพลงนี้
ในเวลาไล่เลี่ยกัน วัยรุ่นกรุงโรมก็กระโดดสะพานฆ่าตัวตายหลังจากที่ได้ฟังเพลงมรณะนี้
เช่นเดียวกัน
ไม่นานนักเจ้าหน้าที่รัฐบาลผู้หนึ่งก็ได้ยิงตัวตายหลังจากที่ได ้อ่านเนื้อเพลงนี้
รายต่อมาเป็นเด็กหญิงคนหนึ่งที่พยายามกินยาพิษเมื่อได้ยินเพลงน ี้จากเครื่องเล่นแผ่นเสียง
ที่ภัตตาคารแห่งหนึ่งในกรุงบูตาเบส ชายคนหนึ่งก็ไดยิงตัวตายในขณะที่เพลงนี้กำลังบรรเลงอยู่
และรายอื่นๆอีกมากมาย.......
และผู้ประพันธ์เพลงนี้เองก็ต้องเจอชะตากรรมอันเลวร้าย เมือคิดจะไปคืน
ดีกับคนรัก แต่ในเวลาต่อมาเขาก็รู้ว่า คนรักของเขาได้กินยาพิษฆ่าตัวตายไปแล้ว ที่ข้างร่างของ
เธอคือแผ่นกระดาษบทเพลงกลูมมี่ซันเดย์นั่นเอง
รัฐบาลฮังการีได้สั่งห้ามไม่ให้เปิดเพลงนี้ออก
อากาศ แต่เหตุการณ์นี้ก็ยังเกิดในที่อื่นๆอีก เช่นที่ประเทศอังกฤษ ซึ่งทางบีบีซีก็ได้ถูกสั่งห้ามเปิด
เพลงนี้เช่นกัน แต่ในสหรัฐอเมริกา ถึงแม้จะเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น ก็ตัดสินใจที่จะไม่ทำอย่างรัฐบาลอังกฤษและฮังการี
โดยสรุปแล้วการฆ่าตัวตายนั้นได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเพลงนี้ประมาณ
200 รายทั่วโลก และในปี 1968 ชาวอังกฤษคนหนึ่งก็ได้กระโดดจากชั้น 8 ของอาคารแห่งหนึ่ง
เขาคือ เรสโซ เซเรสส์ ซึ่งไม่สามารถแต่งเพลงได้อีกหลังจากการแต่งทำนองเพลง "วันอาทิตย์ที่
แสนเศร้า"
และนี่เองคือที่มาสำหรับบทเพลงแห่งความตายที่มีชื่อว่า "วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า" หรือ
"gloomy sunday"
ผลกระทบของเพลงมรณะในประเทศไทย
จากกระแสการฟังเพลงผ่านอิน
เทอร์เน็ตที่มีมากขึ้นนั้น ล่าสุดพบว่ามีคนไทยกลุ่มหนึ่งนำบทเพลงมรณะ ที่อ้างว่ามีผู้ฟังแล้วฆ่าตัว
ตายกว่า 200 คน มาเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์หลายแห่ง หลังจากผู้สื่อข่าวสืบหาข้อมูลตามกระทู้ใน
เว็บไซต์ต่างๆ พบว่า มีการนำเพลงมรณะมาเผยแพร่จริง ชื่อเพลง "กลูมมี่ซันเดย์" แต่งโดยชาว
ฮังการีผู้ผิดหวังในชีวิต เนื่องจากแฟนสาวฆ่าตัวตาย
ทั้งนี้ เว็บไซต์แห่งหนึ่งได้อ้างตัวอย่างผู้ที่ฆ่า
ตัวตายจากเพลงข้างต้น โดยเขียนโพสต์ลงในกระทู้ว่า ที่เยอรมนีชายหนุ่มคนหนึ่งขอให้วงดนตรี
เล่นเพลงกลูมมี่ซันเดย์ให้ฟัง หลังจากเขากลับบ้านก็บ่นกับสมาชิกในครอบครัวว่า รู้สึกกดดันอย่าง
รุนแรงกับท่วงทำนองเพลงนี้ และไม่อาจลืมหรือลบมันออกไปจากความคิดได้ ในที่สุดก็ตัดสินใจ
ใช้ปืนฆ่าตัวตาย เช่นเดียวกับเลขานุการหญิงในเมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ที่ฆ่าตัวตายด้วยแก๊ส
ซึ่งเขียนจดหมายลาตายระบุว่า ให้เล่นเพลงกลูมมี่ซันเดย์ในงานศพของเธอด้วย เจ้าของกระทู้ยืน
ยันว่ามีผู้ฆ่าตัวตายกว่า 200 คนเนื่องจากฟังเพลงข้างต้น
ทั้งนี้ความหมายในเนื้อเพลง กลูมมี่ซันเดย์โดยสรุป จะเกี่ยวข้องกับวันอาทิตย์แสนเศร้า การใช้ชีวิตอยู่ในความมืดตลอดกาล ผู้ที่สูญเสียคนรักไปต้องการคนรักคืนมา แต่เทวดาคงไม่ยอม ดังนั้นคนนั้นจึงตัดสินใจที่จะไปตามหาคนรักในสวรรค์เสียเอง ขอให้ทุกคนไม่ต้องเสียใจ เพราะความตายจะทำให้เขาได้สัมผัสคนรักอีกครั้งหนึ่ง
ด้าน น.ส.เกสินี ซาวนด์โปรดิวเซอร์ เจ้าของห้องบันทึกเสียงชื่อดังแห่งหนึ่ง
ตั้งข้อสังเกตหลังจากฟังเพลงกลูมมี่ซันเดย์ว่า เพลงมรณะนี้มีลักษณะพิเศษคือ แต่งด้วยทำนอง
และเมโลดี้ที่วงการแต่งเพลงเรียกกันว่า "เพลงดาร์ก" หรือเพลงกดดันแบบหนักหน่วง ทำให้ฟัง
แล้วรู้สึกหดหู่สะเทือนใจขึ้นมาอย่างรุนแรง นอกจากนี้ เสียงร้องของผู้ร้องเพลงนี้ยังมีความ
โหยหวนเป็นอย่างมาก จึงอาจเป็นไปได้ที่จะทำให้คนฟังบางคนอยากฆ่าตัวตาย
"เพลงนี้มีองค์ประกอบหลายอย่างที่ลงตัว จึงกลายเป็นเพลงมรณะ ทำให้คนฟังอยากฆ่าตัวตายได้ เสียงร้องที่โหยหวนเป็นจุดเด่นที่สุดของเพลงนี้ รวมกับท่วงทำนองและเมโลดี้ที่ดาร์กมาก แต่เนื้อร้องไม่ได้มีอะไรพิเศษนัก ถ้าเปลี่ยนทำนองเพลงนี้เป็นแบบเพลงป๊อป หรือเปลี่ยนเสียงคนร้อง เพลงนี้ก็แทบไม่มีความรันทดเหลืออยู่เลย" ผู้ เชี่ยวชาญด้านเสียงดนตรีกล่าววิเคราะห์
ด้านนายณรงค์วิทย์ เตชะธนะวัฒน์ นักแต่งเพลงค่ายแกรมมี่ กล่าวว่า บทเพลงที่มีเนื้อหาเศร้าสร้อยท่วงทำนองที่ฟังแล้วรู้สึกหดหู่นั้น
จะมีผลต่อสภาพจิตใจของผู้ฟังเป็นอย่างมาก และอาจเป็นไปได้ว่าหากผู้ฟังที่อยู่ในภาวะที่เศร้า เสียใจ อกหักรักคุด
หรือมีเรื่องราวที่กระทบจิตใจที่รุนแรงอาจนำไปสู่การคิดสั้นฆ่าตัวตายได้
ด้าน น.พ.บัณฑิต ศรไพศาล ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์
กรมสุขภาพจิต กล่าวว่า บทเพลงที่มีเนื้อหาเศร้าสร้อย ความไม่สมหวัง การสูญเสีย ซึ่งฟังแล้วทำ
ให้สภาวะจิตใจห่อเหี่ยว มักมีอิทธิพลสูงสำหรับผู้ฟังที่อยู่ในสภาวะจิตใจที่ไม่ปกติ เช่น ผู้ที่เพิ่งสูญเสียคนรัก คนอกหัก คนไม่สมหวังในชีวิต เมื่อฟัง
เพลงที่มีเนื้อหาเศร้าสร้อย ก็จะยิ่งทำให้สะเทือนอารมณ์ และหากเนื้อหาของบทเพลงชี้นำไปสู่การ
ฆ่าตัวตาย ก็เป็นไปได้สูงที่ผู้ฟังจะทำตามการชี้นำนั้น
"เด็กวัยรุ่นอายุระหว่าง 12-18 ปี เป็นวัยที่
เสี่ยงที่สุด เพราะภาวะจิตใจไม่คงที่ ไม่เข้มแข็ง เป็นช่วงที่เปราะบาง มักทนแรงเสียดทานไม่ค่อย
ได้ หากมีเรื่องราวที่ไม่สมหวัง ผิดหวัง เขาจะรู้สึกว่าชีวิตไม่มีค่า โดดเดี่ยว อ้างว้าง และเมื่อมี
โอกาสอยู่คนเดียวก็จะคิดมากฟุ้งซ่าน และหากเจอสิ่งเร้าที่ชี้นำไปสู่การฆ่าตัวตายก็เป็นไปได้สูงที่
คนกลุ่มนี้จะทำตาม" น.พ.บัณฑิต กล่าว
น.พ.บัณฑิต กล่าวด้วยว่า หากมีญาติหรือคนรู้จักโดย
เฉพาะเด็กวัยรุ่นที่ผิดหวังในชีวิต มีเรื่องที่กระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรง ผู้ใกล้ชิดจะต้องคอย
ดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ และไม่สมควรที่จะให้ฟังเพลงเศร้าหรืออยู่คนเดียวตามลำพัง ทั้งนี้คนใกล้
ชิดจะต้องคอยปลอบใจ คอยให้กำลังใจ ต้องทำให้คนผู้นั้นเห็นว่ายังมีความสำคัญและยังมีคน
คอยห่วงใหญ่อยู่
เนื้อเพลง เพลง "วันอาทิตย์ที่แสนเศร้า"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เครดิต
http://www.oknation.net/blog/xpresso/2007/03/09/entry-1