ทำไมญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกผ่านประเทศไทย

กระทู้คำถาม
ในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2484 กองทัพญี่ปุ่นได้โจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ รัฐฮาวาย ซึ่งเป็นฐานทัพของสหรัฐอเมริกา ในขะนั้นอเมริกายังไม่ทันตั้งตัว ญี่ปุ่นจึงได้โอกาศ โจมตีเพิ์ลฮาร์เบอร์ทางอากาศ ทำให้ฐานทัพแห่งนี้พังทลายจนไม่เหลือซาก ในวันต่อมาปะธานนาธิบดี แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ได้ประกาศสงครามกับญี่ปุ่นทันที ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2484 ญี่ปุ่นได้ทำการเปิดฉากรุกรานในแถบเอเชียแปซิฟิก ได้เข้ายึดทั้ง จีน เกาหลี ฟิลิปฟินส์ อินโดนีเชีย และประเทศไทย การยกพลขึ้นบกของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นในประเทศไทย เพื่อเป็นทางผ่านไปยังพม่าและมลายู โดยเดินทัพเข้าทางอัญประเทศ
และเดินทางเรือยกพลขึ้นบกที่ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลาและปัตตานี ทำให้ฝ่านไทยเป็นฝ่ายตั้งรับ โดย ทหาร ตำรวจ พลเรือน และยุวชนทหาร ได้ลุกขึ้นสู้อย่างกล้าหาญ ต่อสู้เพื่อรักาาเอกราชของไทยเอาไว้ ทำให้มีบางคนเสียชีวิต บางคนได้รับบาดเจ็บ ในขณะนั้น
จอมพล ป.พิบูลสงคาม ซึ่งยังดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ทำให้นายกรัฐมนตรียอมให้ญี่ปุ่นผ่านไทยได้ และรัฐบาลสั่งให้หยุดยิงทั้งสองฝ่าย
ในที่สุดญี่ปุ่นได้ผ่านไทยไปยังพม่าและมลายูได้สำเร็จ ในปีต่อมา พ.ศ.2485 ญี่ปุ่นจึงได้สร้างทางรถไฟสาย ไทย-พม่า โดยจากบ้านโป่ง ผ่านกาญจนบุรี
ด่านพระเจดีย์สามองค์ และสิ้นสุดสถานีที่ทัมปูชายัต ประเทศพม่า จนได้เกณฑ์เฉลยศึกฝ่ายสัมพันธ์มิตรเช่น อังกฤษ ออสเตรเลีย อเมริกัน และนิวซีเลีย
ประมาณ 61,700 คน และกรรมกรเอเชียเช่น จีน ญาน ชวา มลายู ชวา พม่าและอินเดีย ทำงานจนอย่างสุดทรมานมาก ทำให้เสียชีวิตในระหว่างสร้างรถไฟไปด้วยมากมาย ในที่สุดสร้างทางรถไฟเสร็จในปี พ.ศ.2486 ทำให้ญี่ปุ่นเข้ายึดพม่าได้สำเร็จ ทำให้ฝ่ายสัมพันธ์มิตรได้ทิ้งระเบิด ตัดทางลำเลียง เช่น ท่าเรือ ทางรถไฟ สะพาน และสนามบิน เพื่อไม่ให้ญี่ปุ่นผ่านไปยังประเทศอื่นได้
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่