วันนี้จะพาไปเที่ยวแอฟริกา ลุยป่าล่าเจ้าความเร็ว
ตามหาผู้วิ่งได้เร็วกว่าห้าคันรถเมล์ในวินาทีเดียว...ผู้พุ่งทะยานเหนือทุกสัตว์บก..ชีตาห์
เสือชีตาห์ (อังกฤษ: Cheetah) เป็นสัตว์ตระกูลแมวเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอกที่มีขนาดใหญ่ ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110-120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก[2] เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน80-100 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว9000-1200 ตัวเท่านั้น
เสือชีตาห์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acinonyx jubatus และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acinonyx ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเสือชีตาห์ชนิดอื่น ๆ นั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดในยุคน้ำแข็งสุดท้าย จึงทำให้สายพันธุ์กรรมของเสือชีตาห์ทั้งหมดในปัจจุบันใกล้ชิดกันมาก
คำว่า "ชีตาห์" มาจากภาษาสันสกฤต คำว่า citrakāyaḥ หมายถึง "ความแตกต่าง" และจากภาษาฮินดีคำว่า 'चीता' (ซิตา[5]) ขณะที่ในภาษาสวาฮิลีเรียกเสือชีตาห์ว่า "ดูม่า" (Duma[6])
ในขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์ Acinonyx มีความหมายว่า "ไม่สามารถขยับเล็บ" ในภาษากรีก และคำว่า jubatus หมายถึง "หงอน" หรือ "เครา" ในภาษาละติน อันหมายถึงขนที่ฟูของลูกเสือ[7]
ลักษณะทั่วไป[แก้]
เป็นเสือรูปร่างเพรียว ขนาดเล็กกว่าเสือดาวเล็กน้อย(80-140 ปอนด์ สำหรับน้ำหนักตัว) ขาขาว ขนหยาบ สีเขียวอ่อนอ่อน จนถึงสีเขียวอมแดง ตามลำตัวมีลายจุดเป็นสีดำ ปลายหางหนึ่งในสามมีวงแหวนสีดำ ปลายสุดสีขาว มีเส้นสีดำจากใต้หัวตามาที่มุมปากทั้งสองข้าง หูเล็กกลม ขนท้ายทอยยาวและตั้งขึ้นเป็นแผง คอสั้น สายพันธุ์ที่มาจากโรเซียมีดวงตามตัวติดกันเป็นแถบสีดำยาวเรียก "King cheetah" หรือ "ชีตาห์ราชา"
ชีต้าหดซ่อนเล็บไว้ในอุ้งเล็บไม่ได้ นอกจากตอนอายุน้อยไม่เกิน 15 สัปดาห์ เนื่องจากช่วงนี้ หนังหุ้มเจริญตัวดีมาก หลังจากนั้น หนังหุ้มจะหดหายไป เป็นเสือวิ่งเร็วที่สุดในช่วงสั้น อุ้งเท้าเล็บแคบกว่าเสือชนิดอื่น
ถิ่นกำเนิด[แก้]
เสือชีตาห์พบในทวีปแอฟริกาตั้งแต่ตอนใต้ของทะเลทรายซาฮารา บริเวณทุ่งหญ้าในตะวันออก และตอนใต้ของแอฟริกา นอกจากนี้ยังพบในอินเดีย บางส่วนของอิหร่านและอัฟกานิสถาน
เสือชีตาห์มีชนิดย่อยทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่[3]
A. j. venaticus พบในแอฟริกาเหนือ
A. j. hecki พบในแอฟริกาตะวันตก
A. j. raineyii พบในแอฟริกาตะวันออก
A. j. jubatus พบในแอฟริกาใต้
A. j. soemmeringii พบในแอฟริกากลาง
A. j. velox
ถิ่นอาศัยและการล่าเหยื่
อาศัยอยู่ตามลำพัง ตัวผู้ที่เป็นพี่น้องกันจะรวมกลุ่มกันอยู่ และมีอาณาเขตร่วมกัน ชีตาห์เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วที่สุดในโลก สามารถทำความเร็วเกิน 70 ไมล์ต่อชั่วโมง แต่มันจะวิ่งได้ไม่เกิน 400 เมตรเท่านั้น อาหารของมัน ได้แก่ กวางขนาดเล็ก เสือชีตาห์สามารถฝึกให้เชื่องได้ง่าย ในสมัยโบราณมักถูกนำมาฝึกให้ล่าสัตว์ ชอบอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าแห้งแล้ง ปีนต้นไม้ไม่เก่ง แต่กระโดดได้สูงถึง 4.5 เมตร ใช้การถ่ายปัสสาวะเป็นเครื่องกำหนดอาณาเขตของมัน ชอบล่าเหยื่อเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยซ่อนตัวบนที่สูงกว่าเหยื่อ เมื่อพบเหยื่อจะหมอบคลานเข้าไปหาและจะอยู่ใต้ลม พอเข้าใกล้เหยื่อ จะใช้เท้าหน้าตะบบให้เหยื่อล้มลงแล้วกัดที่คอ ชอบกินเลือดสด ๆ และเครื่องใน มีตับ ไต หัวใจ และจมูก ลิ้น ตา เนื้อที่หัวซี่โครงและขา นอกนั้นไม่ค่อยกิน มันไม่ลากซากไปกินและไม่หวนกลับมากินซากเดิมอีก ซากเน่าปกติไม่กิน นอกจากหิวจัดจริง ๆ
ปกติเหยื่อขนาดปานกลาง เช่น แอนติโลป พวกกาเซลล์อิมพาล่า วิดเดอบีส์ แต่เหยื่อขนาดใหญ่ เช่น ม้าลาย คูได นกกระจอกเทศ ก็ล่าได้ นอกจากนี้ก็ล่า พวกกระต่ายป่า สัตว์แทะ นก รวมทั้งแพะ แกะด้วย กินทั้งหนังและขนของเหยื่อ อาหารแร่ธาตุและไวตามินส์เป็นสิ่งสำคัญของเสือชนิดนี้
ใช้การฆ่าด้วยการกัดและกรงเล็บคมเล่นงานที่ลำคอ
การสืบสายพันธุ์
ท้องนาน 90 – 95 วัน ตกลูกครั้งละ 1 – 8 ตัว ลูกลืมตาได้เมื่ออายุ 8 – 11 วัน ตามองเห็นเมื่ออายุ 20 วัน กินอาหารแข็งได้เมื่ออายุ 3 สัปดาห์ไปแล้ว และหย่านมเมื่อ อายุ 10 สัปดาห์ไปแล้ว ลูกมักจะตายมากในช่วง 8 เดือนแรก ตัวเมียเป็นสาวผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุประมาณ 2 ปี ศัตรูของลูกเสือชีตาห์ คือ สิงโต เสือดาว ไฮยีน่า และหมาป่า ด้วยความเร็วที่สุดยอด ชีตาห์ตัวโตเต็มวัย มีศัตรูตามธรรมชาติน้อยมากๆ
การเลี้ยงเสือชีตาห์มีผู้แนะนำให้แยกตัวผู้และตัวเมียไว้ต่างหาก ให้นำมารวมกันเฉพาะระยะผสมพันธุ์เท่านั้น หลังจากผสมพันธุ์กันแล้วมันคงอยู่ด้วยกันอีกนานไม่แยกจากกันทันทีเหมือนสัตว์อื่นบางชนิด เคยพบพ่อช่วยเลี้ยงลูกอ่อนด้วย
ชีตาหฺในยามปกป้องลูกอ่อน มันพร้อมจะต่อกร กับศัตรูอย่างสิงโต เสือดาว หรือไฮยีน่าได้เลย
ฟันของมันคมกริบ และแรงกัดเองก็มากพอจะฆ่าสัตว์ใหญ่ได้ไม่ยาก(กัดทำลายหลอดลม หรือทำลายกระดูกคอ)
ขอบคุณข้อมูลจาก
http://carnivoraforum.com/topic/9329148/1/
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B9%8C
จบแล้วครับ
(เอาบทความมาฝาก)ชีตาร์...ราชาแห่งความเร็ว!
ตามหาผู้วิ่งได้เร็วกว่าห้าคันรถเมล์ในวินาทีเดียว...ผู้พุ่งทะยานเหนือทุกสัตว์บก..ชีตาห์
เสือชีตาห์ (อังกฤษ: Cheetah) เป็นสัตว์ตระกูลแมวเล็กชนิดหนึ่ง เนื่องไม่สามารถส่งเสียงคำรามได้ แต่จากรูปร่างภายนอกที่มีขนาดใหญ่ ทำให้นิยมเรียกกันว่า เสือชีตาห์ เสือชีตาห์มีที่อยู่อาศัยในทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วมากวิ่งได้เร็วประมาณ 110-120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จัดเป็นสัตว์บกที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก[2] เป็นผลมาจากความสามารถในการโค้งงอของกระดูกสันหลังในการเคลื่อนที่และเมื่อพุ่งตัวกระดูกสันหลังจะเหยียดออก ปัจจุบันเสือชีตาห์ลดจำนวนลงในทวีปเอเชียเหลืออยู่แค่ในอิหร่านไม่เกิน80-100 ตัว ส่วนในแอฟริกาประมาณการว่าเหลืออยู่ราว9000-1200 ตัวเท่านั้น
เสือชีตาห์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acinonyx jubatus และจัดเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์เดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acinonyx ที่ยังสืบเผ่าพันธุ์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเสือชีตาห์ชนิดอื่น ๆ นั้นได้สูญพันธุ์ไปหมดในยุคน้ำแข็งสุดท้าย จึงทำให้สายพันธุ์กรรมของเสือชีตาห์ทั้งหมดในปัจจุบันใกล้ชิดกันมาก
คำว่า "ชีตาห์" มาจากภาษาสันสกฤต คำว่า citrakāyaḥ หมายถึง "ความแตกต่าง" และจากภาษาฮินดีคำว่า 'चीता' (ซิตา[5]) ขณะที่ในภาษาสวาฮิลีเรียกเสือชีตาห์ว่า "ดูม่า" (Duma[6])
ในขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์ Acinonyx มีความหมายว่า "ไม่สามารถขยับเล็บ" ในภาษากรีก และคำว่า jubatus หมายถึง "หงอน" หรือ "เครา" ในภาษาละติน อันหมายถึงขนที่ฟูของลูกเสือ[7]
ลักษณะทั่วไป[แก้]
เป็นเสือรูปร่างเพรียว ขนาดเล็กกว่าเสือดาวเล็กน้อย(80-140 ปอนด์ สำหรับน้ำหนักตัว) ขาขาว ขนหยาบ สีเขียวอ่อนอ่อน จนถึงสีเขียวอมแดง ตามลำตัวมีลายจุดเป็นสีดำ ปลายหางหนึ่งในสามมีวงแหวนสีดำ ปลายสุดสีขาว มีเส้นสีดำจากใต้หัวตามาที่มุมปากทั้งสองข้าง หูเล็กกลม ขนท้ายทอยยาวและตั้งขึ้นเป็นแผง คอสั้น สายพันธุ์ที่มาจากโรเซียมีดวงตามตัวติดกันเป็นแถบสีดำยาวเรียก "King cheetah" หรือ "ชีตาห์ราชา"
ชีต้าหดซ่อนเล็บไว้ในอุ้งเล็บไม่ได้ นอกจากตอนอายุน้อยไม่เกิน 15 สัปดาห์ เนื่องจากช่วงนี้ หนังหุ้มเจริญตัวดีมาก หลังจากนั้น หนังหุ้มจะหดหายไป เป็นเสือวิ่งเร็วที่สุดในช่วงสั้น อุ้งเท้าเล็บแคบกว่าเสือชนิดอื่น
ถิ่นกำเนิด[แก้]
เสือชีตาห์พบในทวีปแอฟริกาตั้งแต่ตอนใต้ของทะเลทรายซาฮารา บริเวณทุ่งหญ้าในตะวันออก และตอนใต้ของแอฟริกา นอกจากนี้ยังพบในอินเดีย บางส่วนของอิหร่านและอัฟกานิสถาน
เสือชีตาห์มีชนิดย่อยทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่[3]
A. j. venaticus พบในแอฟริกาเหนือ
A. j. hecki พบในแอฟริกาตะวันตก
A. j. raineyii พบในแอฟริกาตะวันออก
A. j. jubatus พบในแอฟริกาใต้
A. j. soemmeringii พบในแอฟริกากลาง
A. j. velox
ถิ่นอาศัยและการล่าเหยื่
อาศัยอยู่ตามลำพัง ตัวผู้ที่เป็นพี่น้องกันจะรวมกลุ่มกันอยู่ และมีอาณาเขตร่วมกัน ชีตาห์เป็นสัตว์ที่วิ่งได้เร็วที่สุดในโลก สามารถทำความเร็วเกิน 70 ไมล์ต่อชั่วโมง แต่มันจะวิ่งได้ไม่เกิน 400 เมตรเท่านั้น อาหารของมัน ได้แก่ กวางขนาดเล็ก เสือชีตาห์สามารถฝึกให้เชื่องได้ง่าย ในสมัยโบราณมักถูกนำมาฝึกให้ล่าสัตว์ ชอบอาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าแห้งแล้ง ปีนต้นไม้ไม่เก่ง แต่กระโดดได้สูงถึง 4.5 เมตร ใช้การถ่ายปัสสาวะเป็นเครื่องกำหนดอาณาเขตของมัน ชอบล่าเหยื่อเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยซ่อนตัวบนที่สูงกว่าเหยื่อ เมื่อพบเหยื่อจะหมอบคลานเข้าไปหาและจะอยู่ใต้ลม พอเข้าใกล้เหยื่อ จะใช้เท้าหน้าตะบบให้เหยื่อล้มลงแล้วกัดที่คอ ชอบกินเลือดสด ๆ และเครื่องใน มีตับ ไต หัวใจ และจมูก ลิ้น ตา เนื้อที่หัวซี่โครงและขา นอกนั้นไม่ค่อยกิน มันไม่ลากซากไปกินและไม่หวนกลับมากินซากเดิมอีก ซากเน่าปกติไม่กิน นอกจากหิวจัดจริง ๆ
ปกติเหยื่อขนาดปานกลาง เช่น แอนติโลป พวกกาเซลล์อิมพาล่า วิดเดอบีส์ แต่เหยื่อขนาดใหญ่ เช่น ม้าลาย คูได นกกระจอกเทศ ก็ล่าได้ นอกจากนี้ก็ล่า พวกกระต่ายป่า สัตว์แทะ นก รวมทั้งแพะ แกะด้วย กินทั้งหนังและขนของเหยื่อ อาหารแร่ธาตุและไวตามินส์เป็นสิ่งสำคัญของเสือชนิดนี้
ใช้การฆ่าด้วยการกัดและกรงเล็บคมเล่นงานที่ลำคอ
การสืบสายพันธุ์
ท้องนาน 90 – 95 วัน ตกลูกครั้งละ 1 – 8 ตัว ลูกลืมตาได้เมื่ออายุ 8 – 11 วัน ตามองเห็นเมื่ออายุ 20 วัน กินอาหารแข็งได้เมื่ออายุ 3 สัปดาห์ไปแล้ว และหย่านมเมื่อ อายุ 10 สัปดาห์ไปแล้ว ลูกมักจะตายมากในช่วง 8 เดือนแรก ตัวเมียเป็นสาวผสมพันธุ์ได้เมื่ออายุประมาณ 2 ปี ศัตรูของลูกเสือชีตาห์ คือ สิงโต เสือดาว ไฮยีน่า และหมาป่า ด้วยความเร็วที่สุดยอด ชีตาห์ตัวโตเต็มวัย มีศัตรูตามธรรมชาติน้อยมากๆ
การเลี้ยงเสือชีตาห์มีผู้แนะนำให้แยกตัวผู้และตัวเมียไว้ต่างหาก ให้นำมารวมกันเฉพาะระยะผสมพันธุ์เท่านั้น หลังจากผสมพันธุ์กันแล้วมันคงอยู่ด้วยกันอีกนานไม่แยกจากกันทันทีเหมือนสัตว์อื่นบางชนิด เคยพบพ่อช่วยเลี้ยงลูกอ่อนด้วย
ชีตาหฺในยามปกป้องลูกอ่อน มันพร้อมจะต่อกร กับศัตรูอย่างสิงโต เสือดาว หรือไฮยีน่าได้เลย
ฟันของมันคมกริบ และแรงกัดเองก็มากพอจะฆ่าสัตว์ใหญ่ได้ไม่ยาก(กัดทำลายหลอดลม หรือทำลายกระดูกคอ)
ขอบคุณข้อมูลจาก
http://carnivoraforum.com/topic/9329148/1/
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B9%8C
จบแล้วครับ