งูหลามตัวนี้พบบนเกาะ South Stradbroke Island นอกชายฝั่ง Gold Coast
แล้วถูกนำส่งไปรักษาบนผืนแผ่นดินใหญ่(ออสเตรเลีย)โดย Thylarctosplummetus
เพื่อทำการรักษาโดยสัตวแพทย์
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
Thylarctosplummetus เขียนบนชุมชน Reddit ว่า
“ งูที่น่าสงสารตัวนี้อยู่ในอาการแย่มาก
มันเลื้อยไปมาเหมือนงูตาบอด
พวกเราไม่สามารถช่วยอะไรได้มาก
ผมได้พูดคุยกับทางโรงพยาบาลสัตว์
ว่าพวกเขากำลังทำงานอย่างหนัก
เพราะมีบางอย่างที่ผิดปรกติ
มีเห็บ(ปาราสิต)ประเภทพุ่มไม้สีน้ำตาล (brown bush ticks)
เกาะอยู่ที่ตัวงูมากกว่า 100 ตัว “
เห็บที่แกะออกจากตัวงู
สภาพของงูหลังจากแกะเห็บออก
กำลังอยู่ระหว่างการพักฟื้น
เพื่อปล่อยตัวกลับคืนสู่ธรรมชาติ
ใน South Stradbroke Island บริเวณเดิมต่อไป
ข้อมูลเพิ่มเตืม Credit : Bluehill
ผู้เชี่ยวชาญชี้ " ไม่ใช่เรื่องแปลก " เห็บเกาะกินเลือดงู
สังคมโซเซียล ตื่นภาพเห็บเกาะงูที่ออสเตรเลีย ขณะที่สัตว์แพทย์ชี้เห็บกินเลือดงูได้
แม้จะเป็นสัตว์เลือดเย็น แต่เลือดก็มีสีแดงและฮีโมโกบิลไม่แตกต่างจากมนุษย์
หรือสัตว์เลือดอุ่นที่สามารถเป็นอาหารของเห็บและปรสิตได้
หลังจากสังคมโซเซียลได้แพร่ภาพงูหลามบนเกาะ South Stradbroke Island
นอกชายฝั่ง Gold Coast ของออสเตรเลีย ถูกนำส่งไปรักษาจากการถูก
เห็บ Brown Bush Tick จำนวนมากเกาะกินเลือด
ซึ่งหลายคนวิพากวิจารณ์ว่าอาจจะเป็นไปไม่ได้ เพราะเห็บไม่นิยมดูดเลือดงูนั้น
ทีมข่าวเนชั่นทีวี ได้สอบถามไปยัง รศ.สพ.ญ.ดร.สุมลยา กาญจนะพังคะ
อาจารย์คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งให้ความเห็นว่า
มีความเป็นไปได้ว่างูตัวนั้นอาจหลงเข้าไปในพื้นที่ซึ่งมีเห็บอยู่ตัวมาก
จึงโดนเห็บเกาะเพื่อดูดเลือดเป็นอาหาร เพราะไม่ว่าสัตว์อะไรก็ตาม
หากหลงเข้าไปพื้นที่นั้นเห็บคงเกาะเพื่อดูดเลือดให้สามารถอยู่รอดต่อไป
" แม้ว่างูจะเป็นสัตว์เลือดเย็น แต่เลือดมีสีเดียวกับมนุษย์ และสัตว์เลือดอุ่น คือสีแดง
ซึ่งมีฮีโมโกลมินที่มีโปรตีนอยู่ด้วย เพียงแต่เลือดของงูจะมีนิวเคลียสที่รวมพันธุกรรม
ต่างจากคนที่เป็นสัตว์ชั้นสูง นิวเคลียสถูกขับออกเพื่อให้อ๊อกซิเจนเข้ามาแทน "
รศ.สพ.ญ.ดร.สุมลยา กาญจนะพังคะ กล่าว
อย่างไรก็ตาม เลือดงูนอกจากมีนิวเคลียสแล้ว ยังเป็นที่รวมของน้ำเหลืองซึ่งเป็นอาหารของเห็บ
หรือปรสิตอื่นๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่งูก็ถูกเห็บกัดได้ เพียงแต่อาจจะพบเห็นไม่บ่อยนัก
นอกจากนี้ รศ.สพ.ญ.ดร.สุมลยา กาญจนะพังคะ
ยังบอกอีกว่า เห็บชนิดดังกล่าวมีมากในป่าของสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย
เรียบเรียง/ที่มา
http://goo.gl/GjsWs7
ตัวเห็บนับร้อยเกือบทำให้งูตาบอด/ตาย
แล้วถูกนำส่งไปรักษาบนผืนแผ่นดินใหญ่(ออสเตรเลีย)โดย Thylarctosplummetus
เพื่อทำการรักษาโดยสัตวแพทย์
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
Thylarctosplummetus เขียนบนชุมชน Reddit ว่า
“ งูที่น่าสงสารตัวนี้อยู่ในอาการแย่มาก
มันเลื้อยไปมาเหมือนงูตาบอด
พวกเราไม่สามารถช่วยอะไรได้มาก
ผมได้พูดคุยกับทางโรงพยาบาลสัตว์
ว่าพวกเขากำลังทำงานอย่างหนัก
เพราะมีบางอย่างที่ผิดปรกติ
มีเห็บ(ปาราสิต)ประเภทพุ่มไม้สีน้ำตาล (brown bush ticks)
เกาะอยู่ที่ตัวงูมากกว่า 100 ตัว “
เห็บที่แกะออกจากตัวงู
สภาพของงูหลังจากแกะเห็บออก
กำลังอยู่ระหว่างการพักฟื้น
เพื่อปล่อยตัวกลับคืนสู่ธรรมชาติ
ใน South Stradbroke Island บริเวณเดิมต่อไป
ข้อมูลเพิ่มเตืม Credit : Bluehill
ผู้เชี่ยวชาญชี้ " ไม่ใช่เรื่องแปลก " เห็บเกาะกินเลือดงู
สังคมโซเซียล ตื่นภาพเห็บเกาะงูที่ออสเตรเลีย ขณะที่สัตว์แพทย์ชี้เห็บกินเลือดงูได้
แม้จะเป็นสัตว์เลือดเย็น แต่เลือดก็มีสีแดงและฮีโมโกบิลไม่แตกต่างจากมนุษย์
หรือสัตว์เลือดอุ่นที่สามารถเป็นอาหารของเห็บและปรสิตได้
หลังจากสังคมโซเซียลได้แพร่ภาพงูหลามบนเกาะ South Stradbroke Island
นอกชายฝั่ง Gold Coast ของออสเตรเลีย ถูกนำส่งไปรักษาจากการถูก
เห็บ Brown Bush Tick จำนวนมากเกาะกินเลือด
ซึ่งหลายคนวิพากวิจารณ์ว่าอาจจะเป็นไปไม่ได้ เพราะเห็บไม่นิยมดูดเลือดงูนั้น
ทีมข่าวเนชั่นทีวี ได้สอบถามไปยัง รศ.สพ.ญ.ดร.สุมลยา กาญจนะพังคะ
อาจารย์คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งให้ความเห็นว่า
มีความเป็นไปได้ว่างูตัวนั้นอาจหลงเข้าไปในพื้นที่ซึ่งมีเห็บอยู่ตัวมาก
จึงโดนเห็บเกาะเพื่อดูดเลือดเป็นอาหาร เพราะไม่ว่าสัตว์อะไรก็ตาม
หากหลงเข้าไปพื้นที่นั้นเห็บคงเกาะเพื่อดูดเลือดให้สามารถอยู่รอดต่อไป
" แม้ว่างูจะเป็นสัตว์เลือดเย็น แต่เลือดมีสีเดียวกับมนุษย์ และสัตว์เลือดอุ่น คือสีแดง
ซึ่งมีฮีโมโกลมินที่มีโปรตีนอยู่ด้วย เพียงแต่เลือดของงูจะมีนิวเคลียสที่รวมพันธุกรรม
ต่างจากคนที่เป็นสัตว์ชั้นสูง นิวเคลียสถูกขับออกเพื่อให้อ๊อกซิเจนเข้ามาแทน "
รศ.สพ.ญ.ดร.สุมลยา กาญจนะพังคะ กล่าว
อย่างไรก็ตาม เลือดงูนอกจากมีนิวเคลียสแล้ว ยังเป็นที่รวมของน้ำเหลืองซึ่งเป็นอาหารของเห็บ
หรือปรสิตอื่นๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่งูก็ถูกเห็บกัดได้ เพียงแต่อาจจะพบเห็นไม่บ่อยนัก
นอกจากนี้ รศ.สพ.ญ.ดร.สุมลยา กาญจนะพังคะ
ยังบอกอีกว่า เห็บชนิดดังกล่าวมีมากในป่าของสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย
เรียบเรียง/ที่มา
http://goo.gl/GjsWs7