สกดสมอง (Neuro Sleep ) หรือ สกดจิต (จิต Sleep) ---- ตามพระพุทธภาษิตหนึ่ง---- สิ่งที่เรียกกัน (บ้าง) ว่าจิตก็ดี มโนก็ดี วิญญาณก็ดี) ฯ
ข้อมูลจาก
Thai Hypnosis
This is Hypnosis
ในระหว่างการสะกดจิตบำบัด(Hypnotherapy) ผู้รับการบำบัดมักอยู่สภาวะของการเข้าภวังค์และบ่อยครั้ง (เรียกว่าเกือบทั้งหมดก็ว่าได้) ผู้รับการบำบัดก็มักจะหลับลงในระหว่างการบำบัด ดังนั้นกระบวนการบำบัดแบบนี้จึงถูกเรียกกันว่า Hypnosis ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษษกรีกคำว่า Hypnos ซึ่งหมายถึงการนอนหลับ
ในระหว่างการบำบัดด้วยวิธีการสะกดจิตบำบัด ผู้ให้การบำบัดจะพูดให้คำแนะนำต่างๆ ไปเรื่อยๆ จนในที่สุดผู้เข้ารับการบำบัดซึ่งอยู่สภาวะผ่อนคลายและคล้อยตามก็หลับลงไป พอมาถึงตรงนี้แล้วก็มักมีคำถามอมตะตามว่าอยู่เสมอว่า
"เมื่อหลับลงแล้วเราจะได้ยินได้อย่างไร?"
"การสะกดจิตจะได้ผลได้อย่างไรหากเราหลับลง?"
สำหรับเรื่องนี้เราคงต้องย้อนกลับไปดูในหลักการพื้นฐานของการสะกดจิตบำบัด ในเรื่องที่ว่าโดยสะระสำคัญแล้วการสะกดจิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้ (Learning) โดยในระหว่างที่ทำการบำบัด นอกจากถ้อยคำต่างๆ ที่นักสะกดจิตพูดออกไปเพื่อเป็นการให้คำแนะนำ (และเกิดกระบวนการเรียนรู้) นักสะกดจิตจะสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมบางประการขึ้นมา อธิเช่นการใช้น้ำเสียงแบบโมโนโทน (Monotone) บรรยากาศที่ผ่อนคลาย หรือลำดับเนื้อหาของคำแนะนำต่างๆ ที่ถูกออกแบบและจัดลัดมาเป็นอย่างดี ทั้งนี้ก็เพื่อให้เกิดภาวะที่เหมาะที่สุดที่จิตใต้สำนึก (Subconscious) ของผู้เข้ารับการบำบัดจะสามารถรับการเรียนรู้จากคำแนะนำเหล่านั้นให้ได้มากที่สุด
ในสภาวะแวดล้อมที่นักสะกดจิตสร้างขึ้น สมองโดยเฉพาะส่วนของการรู้สำนึก (Conscious) ของผู้รับการบำบัดจะถูกกระตุ้นให้ลดการทำงานลงอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งเข้าสู่ภาวะของการเข้าภวังค์ (หรืออาจจะไปถึงการนอนหลับลึก) เพื่อเปิดโอกาสให้จิตใต้สำนึกได้เกิดช่องทางการเรียนรู้ต่อคำแนะนำนั้นโดยตรงแทนที่จะติดอยู่เพียงแค่การเรียนรู้ด้วยจิตรู้สำนึก (เรียนรู้ด้วยเหตุผล สติปัญญา) ตามภาวะปรกติ
กลับมาที่คำถามเดิมของเราว่า “หลับแล้วจะได้ยินหรือเรียนรู้ได้อย่างไร?”
เรื่องนี้ผมจะขอยกการทดลองของ Sid Kouider จาก the National Center for Scientific Research (or CNRS) ในปารีส ประเทศฝรั่งเศสมาเป็นตัวอย่างในการอธิบายครับ
โดย CNRS ได้ทำการตรวจวัดและบันทึกสัญญาณการตอบสนองของสมองในกลุ่มตัวอย่างการทดลองเมื่อสมองของกลุ่มตัวอย่างตอบสนองกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเขาได้ยิน เช่นเมื่อพูดถึงคำที่เป็นสิ่งของกลุ่มตัวอย่างก็จะกดปุ่มด้วยมือซ้าย แต่ถ้าเป็นชื่อของสัตว์ก็ให้กดปุ่มที่มือขวา โดยในระหว่างนี้ก็มีการบันทึกการทำงานตอบสนองของสมองด้วยเครื่อง EEGs เอาไว้โดยตลอด
จากนั้นก็ให้กลุ่มตัวอย่างไปนอนหลับครับ โดยในระหว่างที่กำลังนอนหลับนั้นก็มีการเปิดเสียงของรายชื่อสิ่งของและสัตว์ชนิดต่างๆ โดยในระหว่างนี้ก็มีการวัดการตอบสนองของคลื่นสมองไปด้วย ผลปรากฏว่าการตอบสนองของสมองยังคงเกิดขึ้นและดำเนินต่อไปในลักษณะเดียวกันกับที่เคยขึ้นตอนที่อยู่ในสภาวะตื่น ความแตกต่างกันระหว่างการตอบสนองคำที่เป็นสัตว์และสิ่งของยังเกิดขึ้นอย่างชัดเจน
รายงานการทดลองนี้ถูกตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ Current Biology ในวันที่ 11 กันยายน ซึ่งสรุปออกว่าสมองของเรายังคงรับรู้ ตรวจสอบ และตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ จากโลกภายนอกที่มันกำลังรู้ได้แม้กระทั้งตอนที่หลับสนิท ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่สมเหตุสมผลมากๆ หากเราจะพบว่าบ่อยครั้งเสียงเบาๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญบางอย่างจะสามารถปลุกคนให้ตื่นขึ้นได้อย่างรวดเร็วมากกว่าเสียงธรรมดาๆ ทั่งไปแต่มีความดังมากกว่า
ผมมักจะบอกกับผู้รับการบำบัดสำหรับเรื่องการฟังในขณะการนอนหลับว่า ถึงแม้ว่าเราจะ “รู้สึก” ว่าเราหลับไปแล้ว แต่ความจริงแล้วระบบประสาทการได้ยินของเราไม่เคยได้หยุดทำงานเลย กระดูกทั่ง โกน ค้อน และแก้วหูของเราไม่เคยได้หยุดสั่นเลย พวกมันยังคงส่งข้อมูลไปยังสมองของเราเรื่อยๆ มีเพียงแต่การรู้สำนึกเท่านั้นที่จะรู้สำนึกหรือไม่ว่าเรากำลังได้ยินอะไร เมื่อเราเข้าภวังค์ที่ลึกมากพอ หรือเมื่อเรานอนหลับ จิตสำนึกหยุดการทำงาน เราจึงไม่สามารถรู้สำนึกได้อีกต่อไปว่าเรากำลังได้ยินอะไร แต่หูของเรายังไม่หลับและจิตใต้สำนึกของเรามันก็ไม่เคยนอนหลับ การเรียนรู้ในระดับจิตใต้สำนึกจึงยังคงดำเนินต่อไปตามแรงโมเมนตั้มการเรียนรู้ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่นักสะกดจิตสร้างขึ้นตั้งแต่ในขณะที่ผู้รับการบัดยังอยู่ในภาวะปรกติ(คือยังไม่หลับ)
ซึ่งการเรียนรู้ที่กระโดดข้ามจิตรู้สำนึกไปหาจิตใต้สำนึกโดยตรงนี้ คือทั้งหมดที่กระบวนการสะกดจิตบำบัดต้องการครับ
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ข้อมูลอ้างอิง
http://www.vcharkarn.com/vnews/500129
A.P. Stevens. “Learning rewires the brain.” Science News for Students. Sept. 2, 2014.
S. Ornes. “Sleeping brains take a bath.” Science News for Students. Nov. 9, 2013.
S. Ornes. “Sleep therapy for fears.” Science News for Students. Oct. 11, 2013.
S. Ornes. “Learning in your sleep.” Science News for Students. Sept. 20, 2012.
S. Gaidos. “No ordinary zzz’s.” Science News for Students. June 6, 2012.
Original Journal Source: S. Kouider et al. Inducing task-relevant responses to speech in the sleeping brain. Current Biology. September 22, 2014, p. 11388. doi: 10.1016/j.cub.2014.08.016
จบความนำ
------------------------
ประเด็น
(๑) สมองถูก สกด --- ด้วย --- ในสภาวะแวดล้อมที่นักสะกดจิตสร้างขึ้น = สกดสมอง (Neuro Sleep ) ใช่หรือไม่
ถ้าเห็นด้วยว่า ใช่
(๒) สมาชิกห้องศาสนา เห็นว่า = สกดจิต (แบบหนึ่ง ตามวิชาฝรั่ง) ใช่หรือไม่
ถ้าเห็นว่า ใช่
(๓) สมาชิกเห็นว่า = จิต คือ สิ่งที่ทรงอุปมาดั่ง วานร ฯ ถูก สกดได้ --- ด้วย --- ในสภาวะแวดล้อมที่นักสะกดจิตสร้างขึ้น ใช่หรือไม่?
---------------- สนทนา ข้อที่ ๓ ก่อนนะครับ ---------------------
หมายเหตุ
ประเด็นกระทู้นี้ สนทนาในแง่ ศาสนาพุทธ เนื่องด้วย "สิ่งที่" เรียกกันว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง กับ สมาชิกห้องศาสนา "เท่านั้น"
หวังว่า สมาชิกห้อง หว้ากอ จะ ไม่เข้ามา ที่กระทู้นี้ ห้องศาสนานี้ (เพราะ ห้องหว้ากอ ก็มีกระทู้เกี่ยวกับ จิต กับ สมอง ในแง่ วิทยาศาสตร์ แล้ว ตามกระทู้นี้
http://ppantip.com/topic/32687427 แต่ ถูก --- De - Index ออกจาก List กระทู้ห้องหว้ากอ ฯ ----
สกดอะไร? ....
ข้อมูลจาก
Thai Hypnosis
This is Hypnosis
ในระหว่างการสะกดจิตบำบัด(Hypnotherapy) ผู้รับการบำบัดมักอยู่สภาวะของการเข้าภวังค์และบ่อยครั้ง (เรียกว่าเกือบทั้งหมดก็ว่าได้) ผู้รับการบำบัดก็มักจะหลับลงในระหว่างการบำบัด ดังนั้นกระบวนการบำบัดแบบนี้จึงถูกเรียกกันว่า Hypnosis ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษษกรีกคำว่า Hypnos ซึ่งหมายถึงการนอนหลับ
ในระหว่างการบำบัดด้วยวิธีการสะกดจิตบำบัด ผู้ให้การบำบัดจะพูดให้คำแนะนำต่างๆ ไปเรื่อยๆ จนในที่สุดผู้เข้ารับการบำบัดซึ่งอยู่สภาวะผ่อนคลายและคล้อยตามก็หลับลงไป พอมาถึงตรงนี้แล้วก็มักมีคำถามอมตะตามว่าอยู่เสมอว่า
"เมื่อหลับลงแล้วเราจะได้ยินได้อย่างไร?"
"การสะกดจิตจะได้ผลได้อย่างไรหากเราหลับลง?"
สำหรับเรื่องนี้เราคงต้องย้อนกลับไปดูในหลักการพื้นฐานของการสะกดจิตบำบัด ในเรื่องที่ว่าโดยสะระสำคัญแล้วการสะกดจิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้ (Learning) โดยในระหว่างที่ทำการบำบัด นอกจากถ้อยคำต่างๆ ที่นักสะกดจิตพูดออกไปเพื่อเป็นการให้คำแนะนำ (และเกิดกระบวนการเรียนรู้) นักสะกดจิตจะสร้างสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมบางประการขึ้นมา อธิเช่นการใช้น้ำเสียงแบบโมโนโทน (Monotone) บรรยากาศที่ผ่อนคลาย หรือลำดับเนื้อหาของคำแนะนำต่างๆ ที่ถูกออกแบบและจัดลัดมาเป็นอย่างดี ทั้งนี้ก็เพื่อให้เกิดภาวะที่เหมาะที่สุดที่จิตใต้สำนึก (Subconscious) ของผู้เข้ารับการบำบัดจะสามารถรับการเรียนรู้จากคำแนะนำเหล่านั้นให้ได้มากที่สุด
ในสภาวะแวดล้อมที่นักสะกดจิตสร้างขึ้น สมองโดยเฉพาะส่วนของการรู้สำนึก (Conscious) ของผู้รับการบำบัดจะถูกกระตุ้นให้ลดการทำงานลงอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งเข้าสู่ภาวะของการเข้าภวังค์ (หรืออาจจะไปถึงการนอนหลับลึก) เพื่อเปิดโอกาสให้จิตใต้สำนึกได้เกิดช่องทางการเรียนรู้ต่อคำแนะนำนั้นโดยตรงแทนที่จะติดอยู่เพียงแค่การเรียนรู้ด้วยจิตรู้สำนึก (เรียนรู้ด้วยเหตุผล สติปัญญา) ตามภาวะปรกติ
กลับมาที่คำถามเดิมของเราว่า “หลับแล้วจะได้ยินหรือเรียนรู้ได้อย่างไร?”
เรื่องนี้ผมจะขอยกการทดลองของ Sid Kouider จาก the National Center for Scientific Research (or CNRS) ในปารีส ประเทศฝรั่งเศสมาเป็นตัวอย่างในการอธิบายครับ
โดย CNRS ได้ทำการตรวจวัดและบันทึกสัญญาณการตอบสนองของสมองในกลุ่มตัวอย่างการทดลองเมื่อสมองของกลุ่มตัวอย่างตอบสนองกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเขาได้ยิน เช่นเมื่อพูดถึงคำที่เป็นสิ่งของกลุ่มตัวอย่างก็จะกดปุ่มด้วยมือซ้าย แต่ถ้าเป็นชื่อของสัตว์ก็ให้กดปุ่มที่มือขวา โดยในระหว่างนี้ก็มีการบันทึกการทำงานตอบสนองของสมองด้วยเครื่อง EEGs เอาไว้โดยตลอด
จากนั้นก็ให้กลุ่มตัวอย่างไปนอนหลับครับ โดยในระหว่างที่กำลังนอนหลับนั้นก็มีการเปิดเสียงของรายชื่อสิ่งของและสัตว์ชนิดต่างๆ โดยในระหว่างนี้ก็มีการวัดการตอบสนองของคลื่นสมองไปด้วย ผลปรากฏว่าการตอบสนองของสมองยังคงเกิดขึ้นและดำเนินต่อไปในลักษณะเดียวกันกับที่เคยขึ้นตอนที่อยู่ในสภาวะตื่น ความแตกต่างกันระหว่างการตอบสนองคำที่เป็นสัตว์และสิ่งของยังเกิดขึ้นอย่างชัดเจน
รายงานการทดลองนี้ถูกตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ Current Biology ในวันที่ 11 กันยายน ซึ่งสรุปออกว่าสมองของเรายังคงรับรู้ ตรวจสอบ และตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ จากโลกภายนอกที่มันกำลังรู้ได้แม้กระทั้งตอนที่หลับสนิท ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่สมเหตุสมผลมากๆ หากเราจะพบว่าบ่อยครั้งเสียงเบาๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญบางอย่างจะสามารถปลุกคนให้ตื่นขึ้นได้อย่างรวดเร็วมากกว่าเสียงธรรมดาๆ ทั่งไปแต่มีความดังมากกว่า
ผมมักจะบอกกับผู้รับการบำบัดสำหรับเรื่องการฟังในขณะการนอนหลับว่า ถึงแม้ว่าเราจะ “รู้สึก” ว่าเราหลับไปแล้ว แต่ความจริงแล้วระบบประสาทการได้ยินของเราไม่เคยได้หยุดทำงานเลย กระดูกทั่ง โกน ค้อน และแก้วหูของเราไม่เคยได้หยุดสั่นเลย พวกมันยังคงส่งข้อมูลไปยังสมองของเราเรื่อยๆ มีเพียงแต่การรู้สำนึกเท่านั้นที่จะรู้สำนึกหรือไม่ว่าเรากำลังได้ยินอะไร เมื่อเราเข้าภวังค์ที่ลึกมากพอ หรือเมื่อเรานอนหลับ จิตสำนึกหยุดการทำงาน เราจึงไม่สามารถรู้สำนึกได้อีกต่อไปว่าเรากำลังได้ยินอะไร แต่หูของเรายังไม่หลับและจิตใต้สำนึกของเรามันก็ไม่เคยนอนหลับ การเรียนรู้ในระดับจิตใต้สำนึกจึงยังคงดำเนินต่อไปตามแรงโมเมนตั้มการเรียนรู้ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่นักสะกดจิตสร้างขึ้นตั้งแต่ในขณะที่ผู้รับการบัดยังอยู่ในภาวะปรกติ(คือยังไม่หลับ)
ซึ่งการเรียนรู้ที่กระโดดข้ามจิตรู้สำนึกไปหาจิตใต้สำนึกโดยตรงนี้ คือทั้งหมดที่กระบวนการสะกดจิตบำบัดต้องการครับ
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
ข้อมูลอ้างอิง
http://www.vcharkarn.com/vnews/500129
A.P. Stevens. “Learning rewires the brain.” Science News for Students. Sept. 2, 2014.
S. Ornes. “Sleeping brains take a bath.” Science News for Students. Nov. 9, 2013.
S. Ornes. “Sleep therapy for fears.” Science News for Students. Oct. 11, 2013.
S. Ornes. “Learning in your sleep.” Science News for Students. Sept. 20, 2012.
S. Gaidos. “No ordinary zzz’s.” Science News for Students. June 6, 2012.
Original Journal Source: S. Kouider et al. Inducing task-relevant responses to speech in the sleeping brain. Current Biology. September 22, 2014, p. 11388. doi: 10.1016/j.cub.2014.08.016
จบความนำ
------------------------
ประเด็น
(๑) สมองถูก สกด --- ด้วย --- ในสภาวะแวดล้อมที่นักสะกดจิตสร้างขึ้น = สกดสมอง (Neuro Sleep ) ใช่หรือไม่
ถ้าเห็นด้วยว่า ใช่
(๒) สมาชิกห้องศาสนา เห็นว่า = สกดจิต (แบบหนึ่ง ตามวิชาฝรั่ง) ใช่หรือไม่
ถ้าเห็นว่า ใช่
(๓) สมาชิกเห็นว่า = จิต คือ สิ่งที่ทรงอุปมาดั่ง วานร ฯ ถูก สกดได้ --- ด้วย --- ในสภาวะแวดล้อมที่นักสะกดจิตสร้างขึ้น ใช่หรือไม่?
หมายเหตุ
ประเด็นกระทู้นี้ สนทนาในแง่ ศาสนาพุทธ เนื่องด้วย "สิ่งที่" เรียกกันว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง กับ สมาชิกห้องศาสนา "เท่านั้น"
หวังว่า สมาชิกห้อง หว้ากอ จะ ไม่เข้ามา ที่กระทู้นี้ ห้องศาสนานี้ (เพราะ ห้องหว้ากอ ก็มีกระทู้เกี่ยวกับ จิต กับ สมอง ในแง่ วิทยาศาสตร์ แล้ว ตามกระทู้นี้ http://ppantip.com/topic/32687427 แต่ ถูก --- De - Index ออกจาก List กระทู้ห้องหว้ากอ ฯ ----