คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 6
จำง่าย ๆ แค่ 2 สูตรครับ
F = P (1+i)^n
A = Pi(1+i)^n/((1+i)^n-1) (หรือ = Fi/((1+i)^n-1) นั่นเอง)
P คือ เงินปัจจุบันงวดที่ 0 (หรือต้นงวดของงวดที่ 1)
F คือ เงินอนาคตปลายงวดของงวดที่ n
I คือ ผลตอบแทนต่องวด
n คือ จำนวนงวด
A หมายความว่า ถ้าฝากเงิน (หรือใช้เงิน) ในแต่ละงวด (ปลายงวดที่ 1-ปลายงวดที่ n) = A ก็มีค่าเทียบเท่าเงินอนาคต F หรือเงินต้น P นั่นเอง
คือจะจ่าย A เป็นจำนวน n งวด หรือจ่ายทีเดียว F ในงวดที่ n มีค่าเท่ากัน สำหรับผู้ให้กู้แล้วมีค่าเท่ากัน
หรือจะฝากเงิน A เป็นจำนวน n งวด กับ ฝากทีเดียว P ตั้งแต่งวดที่ 0 ก็มีค่าเท่ากัน สำหรับผู้ฝากเงิน (หรือผู้ลงทุน) แล้วมีค่าเท่ากัน
ถ้าเข้าใจที่มาของสูตร เข้าใจความหมายของมัน แล้วก็จำแค่ 2 สูตร ที่เหลือก็กดเครื่องคิดเลขเอา
F = P (1+i)^n
A = Pi(1+i)^n/((1+i)^n-1) (หรือ = Fi/((1+i)^n-1) นั่นเอง)
P คือ เงินปัจจุบันงวดที่ 0 (หรือต้นงวดของงวดที่ 1)
F คือ เงินอนาคตปลายงวดของงวดที่ n
I คือ ผลตอบแทนต่องวด
n คือ จำนวนงวด
A หมายความว่า ถ้าฝากเงิน (หรือใช้เงิน) ในแต่ละงวด (ปลายงวดที่ 1-ปลายงวดที่ n) = A ก็มีค่าเทียบเท่าเงินอนาคต F หรือเงินต้น P นั่นเอง
คือจะจ่าย A เป็นจำนวน n งวด หรือจ่ายทีเดียว F ในงวดที่ n มีค่าเท่ากัน สำหรับผู้ให้กู้แล้วมีค่าเท่ากัน
หรือจะฝากเงิน A เป็นจำนวน n งวด กับ ฝากทีเดียว P ตั้งแต่งวดที่ 0 ก็มีค่าเท่ากัน สำหรับผู้ฝากเงิน (หรือผู้ลงทุน) แล้วมีค่าเท่ากัน
ถ้าเข้าใจที่มาของสูตร เข้าใจความหมายของมัน แล้วก็จำแค่ 2 สูตร ที่เหลือก็กดเครื่องคิดเลขเอา
แสดงความคิดเห็น
มีวิธีจำสูตรคำนวณการเงินแบบง่ายๆไหมครับ งงไปหมดแล้ว T.T
เรียนแล้วงงมากๆ ใกล้วอบแล้วด้วย T.T