สิ่งที่ไม่ควรใส่บาตร
1. ข้าวสาร (พระหุงไม่ได้)
2. ธัญญาพืชดิบ
3. มาม่า (พระต้มไม่ได้)
4. ปลาดิบ
5. เนื้อดิบ
6. เงิน ทอง
7. หากเป็นผลไม้...
-ควรปอกให้เรียบร้อยพร้อมฉัน
-ผลไม้ที่ไม่มีเมล็ด ถวายได้เลย
-หากมีเมล็ดควรเอาออกก่อน
หรือ อย่างน้อยก็เอาเล็บจิก หรือมีด ทำให้เป็นรอย
8. เนื้อต้องห้าม 10 ชนิด เนื้อมนุษย์ หมา หมี งู สิงโต เสือดาว เสือโคร่ง เสือเหลือง ช้าง ม้า
9. และอื่นๆที่ไม่เหมาะสม เช่น สุรา ยาเสพย์ติด เป็นต้น
____________________________________
การทำวินัยกรรมให้ถูกต้อง ในผักและผลไม้
[๒๓-๒๔] ภิกษุไม่พึงฉันผลมะม่วง รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ อนุญาตมะม่วงเป็นชิ้น ๆ (ขุททกวัตถุขันธกะ) เล่ม9/หน้า10/บรรทัด9
[๒๕] ทรงอนุญาตให้ฉันผลไม้ โดยสมณกัปปะ 5 อย่าง (ขุททกวัตถุขันธกะ) เล่ม9/หน้า10/บรรทัด19
http://www.tripitaka91.com/91book/book09/001_050.htm#10
อธิบายการทำกัปปิยะและวัตถุที่ใช้ทำกัปปิยะ (ขุททกกัณฑวรรณนา) 4/282/1
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/251_300.htm#282
____________________________________
ถาม - ตอบ เรื่องห้ามถวายเงินพระเณร
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539646290&Ntype=2
หมวด ๗ วิธีปฏิบัติของผู้นำเงิน และทองมาบำรุงวัด
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539739232
หมวด ๔ ผู้จะสร้างที่พักสงฆ์ พึงทำตามนี้
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539739226
ตอนที่ ๑๗ "วิธีปฏิบัติเรื่องเงินและทองของภิกษุ"
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539646310
วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับเงินทองให้เหมาะแก่สมณะ
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539733173
____________________________________
หมวด ๑ การรับ และแจกอาหารที่เป็นของสงฆ์ เล่ม/หน้า/บรรทัด
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539733288
____________________________________
[๕๑๓] พระภิกษุห้ามรับอาหารไว้ค้างคืน ทำการสั่งสม ได้แก่ ของที่รับประเคนในวันนั้น ขบฉันในวันอื่น. (โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๘) 4/541/13
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/501_550.htm#541
พระภิกษุห้ามฉันอาหารตั้งแต่เที่ยงวันไปจนรุ่งเช้า (โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๗) 4/528/2
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/501_550.htm#528
____________________________________
** ห้ามพระภิกษุ หุงต้มอาหารกินเอง (เภสัชชขันธกะ) เล่ม ๗ หน้า ๘๒ - ๘๔ และหน้า, ๑๓๔ - ๑๓๕
http://www.tripitaka91.com/91book/book07/051_100.htm#82
**มัชฌิมศีล เล่ม 11 หน้า312 บรรทัดที่3
(๑๐๕) ๒. ภิกษุเว้นขาดจากการบริโภคของที่ทำการสะสมไว้ เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังประกอบการบริโภคของที่ทำการสะสมไว้เห็นปานนี้ คือ สะสมข้าวสะสมน้ำ สะสมผ้า สะสมยาน สะสมที่นอน สะสมของหอม สะสมอามิสแม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง._
http://www.tripitaka91.com/91book/book11/301_350.htm#312
____________________________________
**โภชนะที่รับล้นบาตร ไม่ควรแม้แก่ภิกษุอาพาธ (เสขิยกัณฑวรรณนา) 4/957/15
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/951_1000.htm#957
**รู้จักประมาณในโภชนะ มี 2 อย่าง คือ ประมาณในการรับ และประมาณในการบริโภค (อ.รถสูตร) 28/398/4
http://www.tripitaka91.com/91book/book28/351_400.htm#398
ฉันหนเดียว (ภัททาลิสูตร) 20/321/10
http://www.tripitaka91.com/91book/book20/301_350.htm#321
ภิกษุควรฉันหนเดียว (สามัญญผลสูตร) 11/310/15
http://www.tripitaka91.com/91book/book11/301_350.htm#310
ภิกษุพึงฉันอาหารหนเดียว. (ภิกขุวรรค ภัททาลิสูตร) 20/321/2
http://www.tripitaka91.com/91book/book20/301_350.htm#321
ดูคำอธิบาย เพิ่มเติมที่
http://www.youtube.com/watch?v=7HMkXt1KLyM
_______________________________
** จุลศีล เล่ม11หน้า309บรรทัด8
//พระไตรปิฎก และอรรถกถาแปล ชุด91 เล่ม มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ฉบับ พ.ศ.2525
***๘. เธอเว้นขาดจากการพรากพืชคาม และภูตคาม.
***๙. เธอฉันหนเดียว เว้นการฉันในราตรี งดเว้นการฉันในเวลาวิกาล.
***๑๐. เธอเว้นขาดจากการฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล.
*** ๑๑. เธอเว้นขาดจากการทัดทรงประดับและตกแต่งร่างกาย ด้วยดอกไม้ ของหอม และเครื่องประเทืองผิว อันเป็นฐานแห่งการแต่งตัว.
*** ๑๒. เธอเว้นขาดจากการนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่.
*** ๑๓. เธอเว้นขาดจากการรับทองและเงิน.
*** ๑๔. เธอเว้นขาดจากการรับธัญญาหารดิบ.
*** ๑๕. เธอเว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ.
*** ๑๖. เธอเว้นขาดจากการรับสตรี และกุมารี.
*** ๑๗. เธอเว้นขาดจากการรับทาสี และทาส.
*** ๑๘. เธอเว้นขาดจากการรับแพะ และแกะ.
*** ๑๙. เธอเว้นขาดจากการรับไก่ เละสุกร.
*** ๒๐. เธอเว้นขาดจากการรับช้าง โค ม้า และลา.
*** ๒๑. เธอเว้นขาดจากการรับไร่นา และที่ดิน.
*** ๒๒. เธอเว้นขาดจากการประกอบทูตกรรม และการรับใช้.
*** ๒๓. เธอเว้นขาดจากการซื้อ การขาย.
*** ๒๔. เธอเว้นขาดจากการโกงด้วยตาชั่ง การโกงด้วยของปลอมและการโกงด้วยเครื่องตวงวัด.
*** ๒๕. เธอเว้นขาดจากการรับสินบน การล่อลวง และการตลบ-ตะแลง.
*** ๒๖. เธอเว้นขาดจากการตัด การฆ่า การจองจำ การตีชิง การปล้น และกรรโชก แม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง.
จบจุลศีล
http://www.tripitaka91.com/91book/book11/301_350.htm#309
_______________________________
อาหารที่จะเป็นพิษต่อร่างกายและเป็นอันตรายต่อชีวิต
พระพุทธเจ้าก็ไม่ให้ผู้ใดกิน ทรงรับสั่งให้ "เททิ้ง"
ถ้าใครอ่านพระไตรปิฎกมามาก จะทราบดีว่ามีหลายเรื่องหลายสูตร....ที่พระพุทธเจ้าเน้นให้พระต้องฉันอาหารที่สะอาด ปรุงสุกเรียบร้อย
มีพระสูตรนี้เปรียบเทียบ แม้เหตุการณ์จะไม่เหมือนกันเป๊ะ
แต่ก็เทียบเคียงกันได้กับ "ประกาศของวัดสามแยก"
http://www.samyaek.com/board2/index.php?topic=5942.0
และ
http://www.samyaek.com/board2/index.php?topic=4786.0
__________________________________________
พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อ 10 อย่าง (เภสัชชขันธกะ) เล่ม7/หน้า97-101
http://www.tripitaka91.com/91book/book07/051_100.htm#97
____________________________________
....ในศาสนาพุทธ บัญญัติบาป บัญญัติบุญ
ไว้ตามหลักธรรมชาติ
ไม่ได้บัญญัติ มาโดยความคิดของพระพุทธเจ้า
อยากบัญญัติเองไม่ใช่...
พระองค์เห็นว่าเป็นบาป เป็นบุญ จริงๆ จึงบัญญัติ...
อันเป็นบุญว่าบุญ อันเป็นบาปว่าบาป อันดีว่าดี อันชั่วว่าชั่ว อันผิดว่าผิด อันถูกว่าถูก พระองค์รู้เห็นทุกอย่าง...
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539735640
ภิกษุผู้ไม่พิจารณา ปัจจัย 4 ก่อนบริโภค ถ้าทรงบัญญัติ ได้จะให้เป็นอาบัติ......
***ปาราชิกข้อที่ 5 (อ.ปุตตมังสสูตร) 26/310/10
_______________________________
ถ้าจะถือแต่จิต....อันตรายมาก
https://www.facebook.com/tripitaka91/photos/710607972328367
สาวกทั้งหลาย ย่อมไม่ล่วงละเมิดสิกขาบทของพระพุทธเจ้าแม้เพราะเหตุแห่งชีวิต. (พรรณนารัตนสูตร) 39/262/1
http://www.tripitaka91.com/91book/book39/251_300.htm#262
พระพุทธเจ้าบอกพระอรหันต์ ให้แสดงธรรม เพื่อปิดประตูนรกให้แก่ชาวโลก. (อ.รัตนจังกมนกัณฑ์) 73/52/6
http://www.tripitaka91.com/91book/book73/051_100.htm#52
ผู้ตำหนิการเรียนปริยัติคือผู้ทำลายศาสนาดุดมหาโจร (อ.ปาปิจฉตานิทเทส) 78/881/14
http://www.tripitaka91.com/91book/book78/851_900.htm#881
_______________________________
หมวด ๑๖ เหตุที่ทำให้ศาสนาอันตรธาน
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539731567
*******************************************
สิ่งที่ไม่ควรใส่บาตร
สิ่งที่ไม่ควรใส่บาตร
1. ข้าวสาร (พระหุงไม่ได้)
2. ธัญญาพืชดิบ
3. มาม่า (พระต้มไม่ได้)
4. ปลาดิบ
5. เนื้อดิบ
6. เงิน ทอง
7. หากเป็นผลไม้...
-ควรปอกให้เรียบร้อยพร้อมฉัน
-ผลไม้ที่ไม่มีเมล็ด ถวายได้เลย
-หากมีเมล็ดควรเอาออกก่อน
หรือ อย่างน้อยก็เอาเล็บจิก หรือมีด ทำให้เป็นรอย
8. เนื้อต้องห้าม 10 ชนิด เนื้อมนุษย์ หมา หมี งู สิงโต เสือดาว เสือโคร่ง เสือเหลือง ช้าง ม้า
9. และอื่นๆที่ไม่เหมาะสม เช่น สุรา ยาเสพย์ติด เป็นต้น
____________________________________
การทำวินัยกรรมให้ถูกต้อง ในผักและผลไม้
[๒๓-๒๔] ภิกษุไม่พึงฉันผลมะม่วง รูปใดฉันต้องอาบัติทุกกฏ อนุญาตมะม่วงเป็นชิ้น ๆ (ขุททกวัตถุขันธกะ) เล่ม9/หน้า10/บรรทัด9
[๒๕] ทรงอนุญาตให้ฉันผลไม้ โดยสมณกัปปะ 5 อย่าง (ขุททกวัตถุขันธกะ) เล่ม9/หน้า10/บรรทัด19
http://www.tripitaka91.com/91book/book09/001_050.htm#10
อธิบายการทำกัปปิยะและวัตถุที่ใช้ทำกัปปิยะ (ขุททกกัณฑวรรณนา) 4/282/1
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/251_300.htm#282
____________________________________
ถาม - ตอบ เรื่องห้ามถวายเงินพระเณร
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539646290&Ntype=2
หมวด ๗ วิธีปฏิบัติของผู้นำเงิน และทองมาบำรุงวัด
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539739232
หมวด ๔ ผู้จะสร้างที่พักสงฆ์ พึงทำตามนี้
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539739226
ตอนที่ ๑๗ "วิธีปฏิบัติเรื่องเงินและทองของภิกษุ"
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539646310
วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับเงินทองให้เหมาะแก่สมณะ
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539733173
____________________________________
หมวด ๑ การรับ และแจกอาหารที่เป็นของสงฆ์ เล่ม/หน้า/บรรทัด
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539733288
____________________________________
[๕๑๓] พระภิกษุห้ามรับอาหารไว้ค้างคืน ทำการสั่งสม ได้แก่ ของที่รับประเคนในวันนั้น ขบฉันในวันอื่น. (โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๘) 4/541/13
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/501_550.htm#541
พระภิกษุห้ามฉันอาหารตั้งแต่เที่ยงวันไปจนรุ่งเช้า (โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๗) 4/528/2
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/501_550.htm#528
____________________________________
** ห้ามพระภิกษุ หุงต้มอาหารกินเอง (เภสัชชขันธกะ) เล่ม ๗ หน้า ๘๒ - ๘๔ และหน้า, ๑๓๔ - ๑๓๕
http://www.tripitaka91.com/91book/book07/051_100.htm#82
**มัชฌิมศีล เล่ม 11 หน้า312 บรรทัดที่3
(๑๐๕) ๒. ภิกษุเว้นขาดจากการบริโภคของที่ทำการสะสมไว้ เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังประกอบการบริโภคของที่ทำการสะสมไว้เห็นปานนี้ คือ สะสมข้าวสะสมน้ำ สะสมผ้า สะสมยาน สะสมที่นอน สะสมของหอม สะสมอามิสแม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง._
http://www.tripitaka91.com/91book/book11/301_350.htm#312
____________________________________
**โภชนะที่รับล้นบาตร ไม่ควรแม้แก่ภิกษุอาพาธ (เสขิยกัณฑวรรณนา) 4/957/15
http://www.tripitaka91.com/91book/book04/951_1000.htm#957
**รู้จักประมาณในโภชนะ มี 2 อย่าง คือ ประมาณในการรับ และประมาณในการบริโภค (อ.รถสูตร) 28/398/4
http://www.tripitaka91.com/91book/book28/351_400.htm#398
ฉันหนเดียว (ภัททาลิสูตร) 20/321/10
http://www.tripitaka91.com/91book/book20/301_350.htm#321
ภิกษุควรฉันหนเดียว (สามัญญผลสูตร) 11/310/15
http://www.tripitaka91.com/91book/book11/301_350.htm#310
ภิกษุพึงฉันอาหารหนเดียว. (ภิกขุวรรค ภัททาลิสูตร) 20/321/2
http://www.tripitaka91.com/91book/book20/301_350.htm#321
ดูคำอธิบาย เพิ่มเติมที่
http://www.youtube.com/watch?v=7HMkXt1KLyM
_______________________________
** จุลศีล เล่ม11หน้า309บรรทัด8
//พระไตรปิฎก และอรรถกถาแปล ชุด91 เล่ม มหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ฉบับ พ.ศ.2525
***๘. เธอเว้นขาดจากการพรากพืชคาม และภูตคาม.
***๙. เธอฉันหนเดียว เว้นการฉันในราตรี งดเว้นการฉันในเวลาวิกาล.
***๑๐. เธอเว้นขาดจากการฟ้อนรำ ขับร้อง ประโคมดนตรี และดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล.
*** ๑๑. เธอเว้นขาดจากการทัดทรงประดับและตกแต่งร่างกาย ด้วยดอกไม้ ของหอม และเครื่องประเทืองผิว อันเป็นฐานแห่งการแต่งตัว.
*** ๑๒. เธอเว้นขาดจากการนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอันสูงใหญ่.
*** ๑๓. เธอเว้นขาดจากการรับทองและเงิน.
*** ๑๔. เธอเว้นขาดจากการรับธัญญาหารดิบ.
*** ๑๕. เธอเว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ.
*** ๑๖. เธอเว้นขาดจากการรับสตรี และกุมารี.
*** ๑๗. เธอเว้นขาดจากการรับทาสี และทาส.
*** ๑๘. เธอเว้นขาดจากการรับแพะ และแกะ.
*** ๑๙. เธอเว้นขาดจากการรับไก่ เละสุกร.
*** ๒๐. เธอเว้นขาดจากการรับช้าง โค ม้า และลา.
*** ๒๑. เธอเว้นขาดจากการรับไร่นา และที่ดิน.
*** ๒๒. เธอเว้นขาดจากการประกอบทูตกรรม และการรับใช้.
*** ๒๓. เธอเว้นขาดจากการซื้อ การขาย.
*** ๒๔. เธอเว้นขาดจากการโกงด้วยตาชั่ง การโกงด้วยของปลอมและการโกงด้วยเครื่องตวงวัด.
*** ๒๕. เธอเว้นขาดจากการรับสินบน การล่อลวง และการตลบ-ตะแลง.
*** ๒๖. เธอเว้นขาดจากการตัด การฆ่า การจองจำ การตีชิง การปล้น และกรรโชก แม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง.
จบจุลศีล
http://www.tripitaka91.com/91book/book11/301_350.htm#309
_______________________________
อาหารที่จะเป็นพิษต่อร่างกายและเป็นอันตรายต่อชีวิต
พระพุทธเจ้าก็ไม่ให้ผู้ใดกิน ทรงรับสั่งให้ "เททิ้ง"
ถ้าใครอ่านพระไตรปิฎกมามาก จะทราบดีว่ามีหลายเรื่องหลายสูตร....ที่พระพุทธเจ้าเน้นให้พระต้องฉันอาหารที่สะอาด ปรุงสุกเรียบร้อย
มีพระสูตรนี้เปรียบเทียบ แม้เหตุการณ์จะไม่เหมือนกันเป๊ะ
แต่ก็เทียบเคียงกันได้กับ "ประกาศของวัดสามแยก"
http://www.samyaek.com/board2/index.php?topic=5942.0
และ
http://www.samyaek.com/board2/index.php?topic=4786.0
__________________________________________
พระพุทธบัญญัติห้ามฉันเนื้อ 10 อย่าง (เภสัชชขันธกะ) เล่ม7/หน้า97-101
http://www.tripitaka91.com/91book/book07/051_100.htm#97
____________________________________
....ในศาสนาพุทธ บัญญัติบาป บัญญัติบุญ
ไว้ตามหลักธรรมชาติ
ไม่ได้บัญญัติ มาโดยความคิดของพระพุทธเจ้า
อยากบัญญัติเองไม่ใช่...
พระองค์เห็นว่าเป็นบาป เป็นบุญ จริงๆ จึงบัญญัติ...
อันเป็นบุญว่าบุญ อันเป็นบาปว่าบาป อันดีว่าดี อันชั่วว่าชั่ว อันผิดว่าผิด อันถูกว่าถูก พระองค์รู้เห็นทุกอย่าง...
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539735640
ภิกษุผู้ไม่พิจารณา ปัจจัย 4 ก่อนบริโภค ถ้าทรงบัญญัติ ได้จะให้เป็นอาบัติ......
***ปาราชิกข้อที่ 5 (อ.ปุตตมังสสูตร) 26/310/10
_______________________________
ถ้าจะถือแต่จิต....อันตรายมาก
https://www.facebook.com/tripitaka91/photos/710607972328367
สาวกทั้งหลาย ย่อมไม่ล่วงละเมิดสิกขาบทของพระพุทธเจ้าแม้เพราะเหตุแห่งชีวิต. (พรรณนารัตนสูตร) 39/262/1
http://www.tripitaka91.com/91book/book39/251_300.htm#262
พระพุทธเจ้าบอกพระอรหันต์ ให้แสดงธรรม เพื่อปิดประตูนรกให้แก่ชาวโลก. (อ.รัตนจังกมนกัณฑ์) 73/52/6
http://www.tripitaka91.com/91book/book73/051_100.htm#52
ผู้ตำหนิการเรียนปริยัติคือผู้ทำลายศาสนาดุดมหาโจร (อ.ปาปิจฉตานิทเทส) 78/881/14
http://www.tripitaka91.com/91book/book78/851_900.htm#881
_______________________________
หมวด ๑๖ เหตุที่ทำให้ศาสนาอันตรธาน
http://www.dharmatarzan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539731567
*******************************************