เครดิต อาจารย์ ฉันทฤทธิ์ วิโรจน์ศิริ
สถาปนิก และนักผังเมืองอาวุโส
อ้างอิง
https://www.facebook.com/groups/BicycleCity/703594383021930/
ในวันที่ 10 กันยายน 2557 นี้ คณะอนุกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลพบุรี จะจัดให้มีการสัมมนากึ่ง
ปฏิบัติการ เพื่อขับเคลื่อนเรื่องเมืองเก่าลพบุรี ท่านที่สนใจจะเข้าร่วมกิจกรรมโปรดติดต่อสอบถามได้ที่สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีโทรศัพท์หมายเลข 036413096 ในเวลาราชการ
เอกสารที่แนบมาเป็นบทคัดย่อจากรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาแนวทางเพื่อจัดทำแผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลพบุรี ซึ่งจัดทำขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2557
https://attachment.fbsbx.com/file_download.php?id=1474594132795699&eid=ASvOduGCGAaKyYXgm2Pxp6ybYKqvQlAalEq1DlRtzXhnnEswPnw8NcUFjwMhUyS8hak&inline=1&ext=1409841219&hash=ASvS9hmKAhF43EF9
ประเด็นสำคัญหนึ่งที่จะทำให้การพัฒนาเชิงอนุรักษ์ของเมืองเก่าหรือชุมชนที่มีแหล่งมรดกศิลปวัฒนธรรม เกิดเป็นผลขึ้นมาได้จริง คือการที่จะต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการสัญจรของผู้คนจากการใช้รถยนต์ที่วิ่งคับถนน ปล่อยมลภาวะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเกินกว่าจะมองเห็นและรู้จักสำนึกในคุณค่าที่ชุมชนเมืองนั้นมีอยู่ ให้มาเป็นการใช้จักรยานและการเดิน ประสานไปกับระบบขนส่งสาธารณะที่เหมาะสม สร้างให้เป็นเมืองน่าอยู่
สัมมนากึ่งปฏิบัติการ เพื่อขับเคลื่อนเรื่องเมืองเก่าลพบุรี จัดโดย คณะอนุกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลพบุรี 10 กันยายน
เครดิต อาจารย์ ฉันทฤทธิ์ วิโรจน์ศิริ
สถาปนิก และนักผังเมืองอาวุโส
อ้างอิง https://www.facebook.com/groups/BicycleCity/703594383021930/
ในวันที่ 10 กันยายน 2557 นี้ คณะอนุกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลพบุรี จะจัดให้มีการสัมมนากึ่ง
ปฏิบัติการ เพื่อขับเคลื่อนเรื่องเมืองเก่าลพบุรี ท่านที่สนใจจะเข้าร่วมกิจกรรมโปรดติดต่อสอบถามได้ที่สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีโทรศัพท์หมายเลข 036413096 ในเวลาราชการ
เอกสารที่แนบมาเป็นบทคัดย่อจากรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาแนวทางเพื่อจัดทำแผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลพบุรี ซึ่งจัดทำขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2557
https://attachment.fbsbx.com/file_download.php?id=1474594132795699&eid=ASvOduGCGAaKyYXgm2Pxp6ybYKqvQlAalEq1DlRtzXhnnEswPnw8NcUFjwMhUyS8hak&inline=1&ext=1409841219&hash=ASvS9hmKAhF43EF9
ประเด็นสำคัญหนึ่งที่จะทำให้การพัฒนาเชิงอนุรักษ์ของเมืองเก่าหรือชุมชนที่มีแหล่งมรดกศิลปวัฒนธรรม เกิดเป็นผลขึ้นมาได้จริง คือการที่จะต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการสัญจรของผู้คนจากการใช้รถยนต์ที่วิ่งคับถนน ปล่อยมลภาวะ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเกินกว่าจะมองเห็นและรู้จักสำนึกในคุณค่าที่ชุมชนเมืองนั้นมีอยู่ ให้มาเป็นการใช้จักรยานและการเดิน ประสานไปกับระบบขนส่งสาธารณะที่เหมาะสม สร้างให้เป็นเมืองน่าอยู่