๑ ปฐมฌาน
มหาวาร สํ ๑๙/๑๐-๑๒/๓๓-๔๑
ภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย
สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย
เข้าถึงปฐมฌาน ประกอบด้วย วิตก วิจาร ปีติ สุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
๒ ปฐมฌาน
ม ม ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘ อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๔๑๒"
ในปฐมฌานนั้น
มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้น
(๑) โดยความเป็นของไม่เที่ยง (๒) โดยความเป็นทุกข์ (๓) เป็นโรค (๔) เป็นหัวฝี (๕) เป็นลูกศร (๖) เป็นความยากลำบาก (๗) เป็นอาพาธ
(๘) เป็นดั่งผู้อื่นให้ยืมมา (๙) เป็นของแตกสลาย (๑๐) เป็นของว่าง (๑๑) เป็นของไม่ใช่ตน
เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า)เหล่านั้น (อันประกอบด้วยอาการมีลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
แล้ว
(เธอ) จึง
น้อมจิตไปสู่ อมตธาตุ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้(ธาตุที่ ไม่ทรงอยู่ด้วย อาการคือ ชาติ ชรา มรณะ จึง คือ อมตะ คือ อชาตะ ฯ / อมตะ เป้นไวพจน์ ของ นิพพาน)
ด้วยการ
กำหนด (ด้วย) ขยญาณ ว่า
เอตัง สันตัง เอตัง ประณีตัง ยทิทัง สัพพสังขาร สมโถ สัพพูปธิ ปฏินิสัคโค ตัณหักขโย วิราโค นิโรโธ นิพพานัง
ดังนี้
เขา(นั้น) ดำรงอยู่ใน วิปัสสนาญาณ มีปฐมฌานเป็นบาทฐาน
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ (เนื่องกับ ธรรม ๙ ตา ที่ท่านพุทธทาสเสนอไว้ /อื่นจากนี้ ยกไว้ฯ)
ย่อมถึงซึ่งความสิ้นไปแห่งอาสวะ
ถ้าไม่ถึงถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ (ขั้นอรหันต์)
ก็เป็นโอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น
มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้---------- ดูมหานิทานสูตร คำว่า ปัญญาวจร คำว่า ความเวียนว่ายในวัฏฏะ
ประเด็น
ปฐมฌาน "พระสูตรแรก (๑) " (องค์ฌาน ทั้ง ๕) กับ ปฐมฌาน "พระสูตรหลัง (๒)" (มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)
วิตก วิจาร ปีติ สุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
แต่ละองค์ธรรม เนื่องกับ
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
อย่างไร?
ปฐมฌาน - ปฐมฌาน ?
มหาวาร สํ ๑๙/๑๐-๑๒/๓๓-๔๑
ภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดแล้วจากกามทั้งหลาย
สงัดแล้วจากธรรมที่เป็นอกุศลทั้งหลาย
เข้าถึงปฐมฌาน ประกอบด้วย วิตก วิจาร ปีติ สุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่
๒ ปฐมฌาน
ม ม ๑๓/๑๕๗-๑๖๑/๑๕๖-๑๕๘ อริยสัจจากพระโอษฐ์ หน้า ๑๔๑๒"
ในปฐมฌานนั้น
มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เธอนั้น ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้น
(๑) โดยความเป็นของไม่เที่ยง (๒) โดยความเป็นทุกข์ (๓) เป็นโรค (๔) เป็นหัวฝี (๕) เป็นลูกศร (๖) เป็นความยากลำบาก (๗) เป็นอาพาธ
(๘) เป็นดั่งผู้อื่นให้ยืมมา (๙) เป็นของแตกสลาย (๑๐) เป็นของว่าง (๑๑) เป็นของไม่ใช่ตน
เธอดำรงจิตด้วยธรรม (คือขันธ์ทั้งห้า)เหล่านั้น (อันประกอบด้วยอาการมีลักษณะ ๑๑ ประการ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น)
แล้ว
(เธอ) จึง
น้อมจิตไปสู่ อมตธาตุ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ด้วยการ
กำหนด (ด้วย) ขยญาณ ว่า
เอตัง สันตัง เอตัง ประณีตัง ยทิทัง สัพพสังขาร สมโถ สัพพูปธิ ปฏินิสัคโค ตัณหักขโย วิราโค นิโรโธ นิพพานัง
ดังนี้
เขา(นั้น) ดำรงอยู่ใน วิปัสสนาญาณ มีปฐมฌานเป็นบาทฐาน [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ย่อมถึงซึ่งความสิ้นไปแห่งอาสวะ
ถ้าไม่ถึงถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ (ขั้นอรหันต์)
ก็เป็นโอปปาติกะ อนาคามี ผู้ปรินิพพานในภพนั้น
มีการไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ปฐมฌาน "พระสูตรแรก (๑) " (องค์ฌาน ทั้ง ๕) กับ ปฐมฌาน "พระสูตรหลัง (๒)" (มีธรรมคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)
แต่ละองค์ธรรม เนื่องกับ
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ