ที่ก๊าซออกซิเจนบนพื้นโลกหนาแน่นกว่าบริเวณที่ราบสูงเป็นเพราะพืชบนพื้นโลกสังเคราะห์แสง แล้วคายก๊าซออกซิเจนออกมา ทีนี้เลยสงสัยว่า
1. ก๊าซออกซิเจนจะหนาแน่นในบริเวณป่าเขาโดยเฉพาะหรือเปล่า เนื่องจากมีต้นไม้เขาอยู่เยอะ แล้วอย่างนี้ผิวน้ำมหาสมุทรที่กินพื้นที่มากกว่าบนบก ไม่มีต้นไม้ มีแต่พื้นน้ำ (แต่อาจมีสาหร่ายในน้ำทะเลบ้าง) บริเวณพื้นผิวมหาสมุทรนั้น อ๊อกซิเจนจะน้อยกว่าไหมครับ (คือก็ยังหนาแน่อยู่แหละ เพียงแต่อาจน้อยกว่าหน่อย ไม่อย่างนั้นชาวประมงก็คงลำบากแหง) หรือเป็นเหตุผลแบบไหนครับ
2. แล้วถ้าบริเวณที่ราบสูงระดับ 6 พันเมตรขึ้นไปที่กินอาณาเขตเป็นบริเวณกว้าง แต่เต็มไปด้วยป่าเขาต้นไม้นานาพันธุ์ทั้งหมด เป็นไปได้ไหมครับว่า ก๊าซออกซิเจนบริเวณที่ราบสูงนั้นก็มีสิทธิ์หนาแน่นเหมือนพื้นที่ต่ำกว่าได้
สอบถามผู้รู้หน่อยครับ
ก๊าซออกซิเจนบนพื้นโลกหนาแน่นกว่าที่สูงเป็นเพราะพืชบนพื้นโลกสังเคราะห์แสงใช่ไหมครับ ถ้าอย่างนั้น...
1. ก๊าซออกซิเจนจะหนาแน่นในบริเวณป่าเขาโดยเฉพาะหรือเปล่า เนื่องจากมีต้นไม้เขาอยู่เยอะ แล้วอย่างนี้ผิวน้ำมหาสมุทรที่กินพื้นที่มากกว่าบนบก ไม่มีต้นไม้ มีแต่พื้นน้ำ (แต่อาจมีสาหร่ายในน้ำทะเลบ้าง) บริเวณพื้นผิวมหาสมุทรนั้น อ๊อกซิเจนจะน้อยกว่าไหมครับ (คือก็ยังหนาแน่อยู่แหละ เพียงแต่อาจน้อยกว่าหน่อย ไม่อย่างนั้นชาวประมงก็คงลำบากแหง) หรือเป็นเหตุผลแบบไหนครับ
2. แล้วถ้าบริเวณที่ราบสูงระดับ 6 พันเมตรขึ้นไปที่กินอาณาเขตเป็นบริเวณกว้าง แต่เต็มไปด้วยป่าเขาต้นไม้นานาพันธุ์ทั้งหมด เป็นไปได้ไหมครับว่า ก๊าซออกซิเจนบริเวณที่ราบสูงนั้นก็มีสิทธิ์หนาแน่นเหมือนพื้นที่ต่ำกว่าได้
สอบถามผู้รู้หน่อยครับ