ละครเรื่องนี้ได้เลี่ยงการแสดงสถานะ สังกัด ของกลุ่มผู้มีอิทธิพล ตามข้อจำกัดในการออกอากาศทางโทรทัศน์
อาจทำให้เข้าใจที่มาของ ขนบธรรมเนียมบางอย่างที่ปรากฏในละครอย่างคลาดเคลื่อน
จึงขอนำเสนอข้อมูลประกอบการชมละครเพื่อให้ได้อรรถรส
ตระกูลพระเอกทั้งสอง สืบเชื้อสายชนชั้น ซามุไร แปลว่า ผู้รับใช้ ตามวิถีบูชิโด(วิถีนักรบ) ใน
ศาสนาชินโต
ระบบสี่ชนชั้นหรือระบบวรรณะญี่ปุ่น(แบ่งตามสีผิว-อินเดีย)แล้วแต่จะเรียกกัน รับอิทธิพลมาจาก จีน เกาหลี
แต่ถูกจัดให้เป็นระบบที่มีอิทธิพลถึงปัจจุบัน มีขึ้นในสมัยเอโดะ โดย โตกุกาว่า อิเอยาสุ
ต่อจากยุคโทโยโทมิ ฮิเดโยชิ ตำแหน่งคัมปาคุ(ผู้สำเร็จราชการ) ซึ่งรับไม้ต่อจาก โอดะ โนบุนากะ วีรบุรุษ แห่งแคว้นโอวาริ(นาโงย่า)
四民 (sì mín ซื่อหมิน) The four occupations or "four categories of the people"
(simplified Chinese: 士农工商; traditional Chinese: 士農工商 )
สี่ชนชั้น หรือวรรณะแบบจีน ซึ่ง เกาหลี ญี่ปุ่น เวียดนาม นำไปใช้
This system of social order was adopted throughout the Sinosphere. In Japanese it is called "Shi, nō, kō, shō" (士農工商,
in Korean as "Sa, nong, gong, sang" (사농공상), and in Vietnamese as "Sĩ, nông, công, thương (士農工商).
The main difference in adaptation was the definition of the shi (士).
士 (shi)ซื่อ ชนชั้นปกครอง ,นักรบ ,ขุนนาง ,บัณฑิต เกาหลี เรียกยางบัน (Yangban)
农/農 (nong)โหนง เกษตรกร ชาวนา ชาวประมง ปศุสัตว์ เป็นกลุ่มที่ผลิตอาหารให้แคว้น จ่ายภาษีด้วยข้าว หรือจากระบบนาเก้าแปลง
工 (gong)กง ช่างฝีมือ แขนงต่างๆ ,กรรมกร มักไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง แต่ทักษะงานฝีมือสืบสายเลือดได้
商 (shang)ซาง พ่อค้าวานิช อยู่กับที่และเร่ร่อน ถูกดูแคลนว่าไม่ได้สร้างสรรค์สิ่งใด คอยแต่ฉวยโอกาสจนร่ำรวย จึงอยู่ต่ำสุด
http://en.wikipedia.org/wiki/Four_divisions_of_society
http://www.kwintessential.co.uk/articles/china/ancient-china-social-classes/2413
ต่อมาสมัยเอโดะ ไดัแบ่งชนชั้นใหม่ ดังนี้
samurai (士 shi)ชิ ผู้รับใช้ เป็นชนชั้นขุนนาง นักรบ เพราะโชกุนมีอำนาจปกครอง แทนจักรพรรดิ์ ซึ่งไม่นับรวม
farming peasants (農 nō)โน เกษตรกร ชาวนา ชาวประมง
artisans (工 kō)โก ช่างฝีมือ แขนงต่างๆ ,กรรมกร
merchants (商 shō)โช พ่อค้าวานิช
http://en.wikipedia.org/wiki/Feudal_Japan_hierarchy
ยุคเอโดะ (ญี่ปุ่น: 江戸時代 Edo-jidai ?) หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868
คือ ยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu)
ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ(ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน ค.ศ. 1603 และหลังจากนั้นอีก 260 ปี
การปกครองทั้งหลายก็ตกอยู่ในอำนาจของตระกูลโทะคุงะวะ รัฐบาลโทะคุงะวะได้ลิดรอนอำนาจจากจักรพรรดิ เชื้อพระวงศ์
และกลุ่มลัทธินิกายต่างๆจนหมดสิ้น การปกครองของตระกูลโทะคุงะวะก็เริ่มสั่นคลอนลงตั้งแต่เข้าศตวรรษที่ 19
และเข้าสู่ยุคเมจิในกาลต่อมา
ยุคนี้เป็นยุคที่วัฒนธรรมของราษฎรสามัญเจริญจนถึงที่สุด ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 จนถึงต้นศตวรรษที่ 18
เป็นยุคของวัฒนธรรมเก็นโระกุ (元禄文化 Genroku-bunka) ซึ่งเป็นของนักรบผสมกับราษฎรสามัญ มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองใหญ่ ๆ
อย่างเกียวโต โอซาก้า เอกลักษณ์คือละครหุ่น ละครคาบุกิและหัตถกรรมต่าง ๆ
อิทธิพลของลัทธิขงจื้อ และวัฒนธรรมเก็นโระกุ
ในช่วงต้นศตวรรษที่สิบเจ็ด การติดต่อกับเกาหลีและจีน ทำให้ลัทธิขงจื้อใหม่(Neo-Confucianism)
แพร่เข้ามาในชนชั้นซะมุไรอันเป็นชนชั้นปกครองของญี่ปุ่น ประกอบกับสภาพว่างเว้นสงครามเป็นเวลานานถึงสองร้อยปี
ทำให้ชนชั้นซะมุไรผันตนเองจากชนชั้นนักรบ มาเป็นชนชั้นนักปราชญ์ ต่อมาอำนาจการปกครองตกอยู่ที่กลุ่มขุนนางฟุไดไดเมียว
(เป็นกลุ่มผู้จงรักภักดีต่อโชกุนในระดับปานกลาง โดยจะเป็นกลุ่มตระกูลผู้รับใช้มาเก่าก่อน หรือเข้ามาก่อนสงครามเซกิงาฮาระ
เช่น ตระกูล อิอิ,ซากาอิ,ฮอนดะ,ซากากิบาระ เป็นต้น)
และปราชญ์ขงจื้อ เข้ามามีอิทธิพลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านการปกครอง สังคมและวัฒนธรรมไปในทางของพลเรือนมากขึ้น
ปรัชญาของลัทธิขงจื้อทำให้สังคมญี่ปุ่นแบ่งออกเป็นสี่ชนชั้นอย่างชัดเจน
และมีผลให้สังคมญี่ปุ่นมีความเคร่งครัด ยึดติดในพิธีรีตองมากอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
เรื่องราวของสี่สิบเจ็ดโรนินผู้ภักดีต่อนาย ตามวิถีบูชิโด เกิดในช่วงเวลานี้
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%B0
http://ppantip.com/topic/31911854
จริยธรรมของศาสนาชินโต โดยสังเขป
จริยธรรมของศาสนาชินโต ส่วนใหญ่เป็นประมวลหลักความประพฤติของ ชาวญี่ปุ่น เป็นข้อปฏิบัติของซามูไร
นักรบหรือขุนนาง โดยสรุปดังต่อไปนี้
1) ความกล้าหาญ นับเป็นจริยธรรมข้อแรกของศาสนาชินโต โดยจะสั่งสอนเด็กตั้งแต่เยาว์วัยพอที่จะเริ่มเข้าใจได้ เมื่อเด็กเริ่มที่จะร้องไห้
บิดามารดาจะดุเด็กน้อยที่ยอมแพ้และมีความอ่อนแอ ชาวญี่ปุ่นจึงเป็นคนกล้าหาญ โดยถือว่าการตายอย่างกล้าหาญถือเป็นเกียรติสูงสุด
การตายอย่างกล้าหาญดีกว่ามีชีวิตอยู่อย่างไร้เกียรติ จะเห็นได้จากการคว้านท้องตัวเองตายของพวกซามูไร เพราะถือว่าเป็นการตายอย่างกล้าหาญ
2) ความขลาดเป็นความชั่ว ตามคำสอนของชินโต บาปทุกอย่างไม่ว่าเล็กหรือใหญ่จะได้รับการให้อภัยถ้าสำนึกผิด ยกเว้นการกระทำ 2 อย่าง คือ ความขลาดและการลักขโมย
3) ความภักดี โดยเฉพาะการจงรักภักดีต่อพระเจ้าจักรพรรดิ ต่อมาขยายออกไปถึงสมาชิกภายในครอบครัวและสังคมอีกด้วย
http://hselearning.kku.ac.th/UserFiles/chapter8%282%29.pdf
การล้างแค้น
รับอิทธิพลจากจีนโบราณ ปรากฏบัญญัติในคัมภีร์นิติจรรยา (หลี่จี้) ว่า
แค้นฆ่าบิดา(มารดร) มิอาจอยู่ร่วมฟ้า
ถือเป็นคุณธรรมตามค่านิยม และประเพณีจีนโบราณ เป็นการแสดงความกตัญญูที่ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
(บางคนสั่งเสียห้ามล้างแค้นก็มี)
สมัยต้าซ่ง มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่า การแก้แค้นให้คนที่ฆ่าพ่อแม่เจ้าทุกข์ ไม่ผิดกฎหมาย
สมัยเอโดะ มีกฎหมายสำหรับชนชั้น ที่สามีซามุไร จะฆ่าชู้และเมียที่หนีตามชู้ไปได้ไม่ผิด อันเป็นเหตุให้เกิดความอัปยศ
ยุคเรเนซองค์ยุโรป การดวลปืนกันระหว่างสองคนกลางที่สาธารณะ หากผู้ใดตายไป ถือว่าไม่ผิดกฎหมาย ไม่ใช่ฆาตกรรม
http://www.jadedragon.net/article-wnam.html
สตรีญี่ปุ่น
ตามอุดมคติต้องอยู่ในโอวาทสามี ปรนนิบัติรับใช้ด้วยความซื่อสัตย์ อย่างที่แม่พระเอกในเรื่องกระทำ
เรื่องที่จะมาค้อน เหวี่ยง วีน เอาแต่ใจสามเวลาหลังอาหาร คงจะเจอสั่งสอนเสียมากกว่า
ส่วนสามีจะไปไหนท่องสำนักโคมสีอะไร ก็ออกงิ้วออกโรงลำบาก แต่สามีที่ดีก็มีแต่น้อย
นางเอกคนไทย เมื่อไปเป็นสะใภ้จะเจอเรื่อง "คนนอก" ได้ไม่ยาก เผอิญแม่ยายไปสวรรค์แล้ว เรื่องคงเปลี่ยนไปอีกแบบ
การเคารพผู้มีอาวุโส
จะเป็นแบบขั้นบันได เสียงของคนที่อาวุโสสุดจะดังเสมอ แต่จะเปิดโอกาสให้เด็กๆแสดงความสามารถ ตามความเหมาะสม
ในบางที่จะเจอ เถ้าแก่ใหญ่ เถ้าแก่รอง เถ้าแก่น้อย ได้ แต่บางที่กลายเป็นเสี่ยใหญ่ เสี่ยน้อยก็มี
การเคารพรุ่นพี่ แสดงความอ่อนน้อมถ่อมตน จึงเป็นขนบที่เคร่งครัด มีตั้งแต่ยุคจีนโบราณ เช่น
เฉียนหลงเป็นไท่ซ่านหวงตี้แล้ว เจียชิ่งเป็นฮ่องเต้ แต่ตราประทับที่ตราลงเอกสาร กลับเป็นตราเฉียนหลง
ภายหลังได้พัฒนาเป็น
สามประสาน แก่ กลาง หนุ่ม เพราะต่างมีจุดดีจุดด้อยต่างกัน
เมื่อทำงานร่วมกันแบบเปิดใจ ย่อมเสริมจุดแข็งลบจุดด้อยไปได้
ห้วงเวลาที่เดินเรื่อง น่าจะเป็นยุค90 เพราะรถที่พระเอกนั่งเป็นโตโยต้าคราวน์ รุ่นเก่า ตอนแรกนึกกว่ารถตำรวจ
ถ้ารวยระดับนั้นนิยมนั่งรถยุโรป อย่างโรสรอยซ์ เบนลี่ เบนซ์ บีเอ็ม หรือพวงมาลัยซ้าย เช่น คาดิแลค ลินคอน
ถ้าเป็นรถญี่ปุ่นต้องรุ่นนี้
Toyota Century รุ่นที่สอง 20 ปีเปลี่ยนแบบที
ภายในรถจะนิยมติดม่านที่กระจกหลัง และประตูหลังเพื่อความเป็นส่วนตัว อาจมีประดับผ้าลายลูกไม้สีขาวที่เบาะหลังด้วย
ฉากจำลองเมืองที่จิบะ มีสัดส่วนที่โอ่โถงมาก แสดงว่าตระกูลโอนิซึกะ บริหารเมืองดี ตึกแต่ละห้องจึงมีหน้ากว้างกว่าขนาดทั่วไปในเมืองอื่น
อย่างในเกียวโตจะหน้าแคบแต่ลึก เวลาดูละครญี่ปุ่นห้องจะแคบมาก เพราะตอนสร้างตึกก็ไม่ใหญ่มาก เนื่องจากมีพื้นที่ราบจำกัด
และมีราคาแพง ประตูเลื่อนจึงนิยมมากเพราะใช้เข้าออกสะดวก และปลอดภัยจากแผ่นดินไหวที่เกิดบ่อยมากทั่วประเทศ
โครงสร้างอาคารจะเล็กชิด เข้าด้วยลิ้มไม้เพื่อให้โครงสร้างขยับได้เล็กน้อย
คิวบู๊ ดูง่ายแบบไอ้มดแดง ขบวนการหลากสี แต่ไม่มีเสียงเอฟเฟคที่คุ้นเคย ถ้าพระเอกมีแปลงร่าง ท่ากระโดดถีบถ่ายเน้นๆก็ใช่เลย
เครื่องแต่งกาย พระเอกไม่เด่นดูไม่น่าเกรงขาม ตอนหน้าได้เป็นหัวหน้ากลุ่มคงดูดีขึ้น พระรองเท่กว่า
นักแสดง สวยหล่อเกินจริง แต่นางเอกเหมาะมาก(ปรกติคนญี่ปุ่นไม่นิยมจัดฟัน การมีเขี้ยวฟันซ้อนเป็นความน่ารักอย่างหนึงของสาวๆ)
งดงามเลอค่าราวกับเครื่องกระเบื้องชั้นดีจากจิ่งเต๋อเจิ้น มณฑลเจียงซี(กังไส) เจียงหนาน(แดนใต้) ที่ล้ำเลิศในใต้หล้า
青花瓷 Qing Hua Ci (Blue Flower Porcelain) เครื่องลายคราม
คำร้อง ฟางเหวินซาน
ขับร้อง หลิวอี้เฟย
ทำนอง โจวเจี๋ยหลุน(เจย์ โชว์)
ฉากแช่น้ำร้อน ถ่ายนานจนมีเมาน้ำร้อนเหมือนกัน ถ่ายได้ดี ถ้าเป็นของจริงไม่น่าดู
แต่น่าจะใส่cg ลงเสียงง่อยๆ เช่น เหงื่อแตก อีการ้อง เวลาที่สามหนุ่มฟัง เรื่องนางร้ายว่าเป็นยอดกุลสตรี
ภาพไกลจนดูสีหน้าเซ็งๆของสามคนไม่ออก แต่ที่เซ็นเซย์หญิงทั้งสามบอกใช้ไม่ได้ ถ่ายดีแสดงความก๋ากั่นของนางร้ายได้หมด
รถรถโดนระเบิดลงทุนใช้รถจริง ปรกติจะcg แต่นั่งมาสี่คน ไม่มีคนขับ ให้ไดสุเกะขับ?
ปูพื้นมาแล้วสองตอน จากนี้คงเดินเรื่องพระเอกเต็มที่ ดูต่อไปว่าจะเข้มข้นแบบ
สวี่เหวินเฉียง กับติงลี่ ในซ่างไห่ทาน(ชายหาดแม่น้ำหวงผู่ที่ซ่างไห่-เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้)หรือไม่
ท้ายนี้ผิดพลาดประการใด ผู้เขียนต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ ขอบคุณครับ
อันชีวิตคนเราแสนสั้นนัก เพียงแค่ห้าสิบก็ตายจาก ทุกสิ่งเป็นเพียงภาพลวงตา คิดมากไปก็เท่านั้น
人間五十年、化天のうちを比ぶれば、夢幻の如くなり
Human life lasts only 50 years, Contrast human life with life of Geten, It is but a very dream and illusion.
วรรคทองจากเพลง '"อัสสึโมริ" ในละครโนะเรื่อง "โควะกะไม" บทเพลงที่ โอดะ โนบุนากะ วีรบุรุษแห่งโอวาริ ชื่นชอบ
เพลงนี้เป็นกำลังใจแด่คนที่อยู่มีแรงสู้ชีวิตต่อไป
เพลง สุกียากี้ (อังกฤษ: Sukiyaki ; ญี่ปุ่น: 上を向いて歩こう ("Ue o muite arukō") มีความหมายว่า "แหงนมองขึ้นฟ้าเดินหน้าไป")1961
ขับร้องโดย คิว ซาคาโมโตะ
คำร้องโดย โรกุสุเกะ เออิ
ทำนองโดย ฮาชิได นากามุระ
ชื่อเพลง "สุกียากี้" อันหมายถึงอาหารประเภทหม้อต้ม ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับเนื้อเพลงหรือความหมายเพลงเลย
การใช้คำนี้มีวัตถุประสงค์ให้ชื่อ สั้น ติดหู เป็นที่จดจำในความเป็นญี่ปุ่น และมีความคุ้นเคยกับผู้ใช้ภาษาอังกฤษ
รอบรักหักเหลี่ยมตะวัน กับภูมิหลังวัฒนธรรมญี่ปุ่น
อาจทำให้เข้าใจที่มาของ ขนบธรรมเนียมบางอย่างที่ปรากฏในละครอย่างคลาดเคลื่อน
จึงขอนำเสนอข้อมูลประกอบการชมละครเพื่อให้ได้อรรถรส
ตระกูลพระเอกทั้งสอง สืบเชื้อสายชนชั้น ซามุไร แปลว่า ผู้รับใช้ ตามวิถีบูชิโด(วิถีนักรบ) ในศาสนาชินโต
ระบบสี่ชนชั้นหรือระบบวรรณะญี่ปุ่น(แบ่งตามสีผิว-อินเดีย)แล้วแต่จะเรียกกัน รับอิทธิพลมาจาก จีน เกาหลี
แต่ถูกจัดให้เป็นระบบที่มีอิทธิพลถึงปัจจุบัน มีขึ้นในสมัยเอโดะ โดย โตกุกาว่า อิเอยาสุ
ต่อจากยุคโทโยโทมิ ฮิเดโยชิ ตำแหน่งคัมปาคุ(ผู้สำเร็จราชการ) ซึ่งรับไม้ต่อจาก โอดะ โนบุนากะ วีรบุรุษ แห่งแคว้นโอวาริ(นาโงย่า)
四民 (sì mín ซื่อหมิน) The four occupations or "four categories of the people"
(simplified Chinese: 士农工商; traditional Chinese: 士農工商 )
สี่ชนชั้น หรือวรรณะแบบจีน ซึ่ง เกาหลี ญี่ปุ่น เวียดนาม นำไปใช้
This system of social order was adopted throughout the Sinosphere. In Japanese it is called "Shi, nō, kō, shō" (士農工商,
in Korean as "Sa, nong, gong, sang" (사농공상), and in Vietnamese as "Sĩ, nông, công, thương (士農工商).
The main difference in adaptation was the definition of the shi (士).
士 (shi)ซื่อ ชนชั้นปกครอง ,นักรบ ,ขุนนาง ,บัณฑิต เกาหลี เรียกยางบัน (Yangban)
农/農 (nong)โหนง เกษตรกร ชาวนา ชาวประมง ปศุสัตว์ เป็นกลุ่มที่ผลิตอาหารให้แคว้น จ่ายภาษีด้วยข้าว หรือจากระบบนาเก้าแปลง
工 (gong)กง ช่างฝีมือ แขนงต่างๆ ,กรรมกร มักไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง แต่ทักษะงานฝีมือสืบสายเลือดได้
商 (shang)ซาง พ่อค้าวานิช อยู่กับที่และเร่ร่อน ถูกดูแคลนว่าไม่ได้สร้างสรรค์สิ่งใด คอยแต่ฉวยโอกาสจนร่ำรวย จึงอยู่ต่ำสุด
http://en.wikipedia.org/wiki/Four_divisions_of_society
http://www.kwintessential.co.uk/articles/china/ancient-china-social-classes/2413
ต่อมาสมัยเอโดะ ไดัแบ่งชนชั้นใหม่ ดังนี้
samurai (士 shi)ชิ ผู้รับใช้ เป็นชนชั้นขุนนาง นักรบ เพราะโชกุนมีอำนาจปกครอง แทนจักรพรรดิ์ ซึ่งไม่นับรวม
farming peasants (農 nō)โน เกษตรกร ชาวนา ชาวประมง
artisans (工 kō)โก ช่างฝีมือ แขนงต่างๆ ,กรรมกร
merchants (商 shō)โช พ่อค้าวานิช
http://en.wikipedia.org/wiki/Feudal_Japan_hierarchy
ยุคเอโดะ (ญี่ปุ่น: 江戸時代 Edo-jidai ?) หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868
คือ ยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะสุ (徳川家康 Tokugawa Ieyasu)
ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ(ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน ค.ศ. 1603 และหลังจากนั้นอีก 260 ปี
การปกครองทั้งหลายก็ตกอยู่ในอำนาจของตระกูลโทะคุงะวะ รัฐบาลโทะคุงะวะได้ลิดรอนอำนาจจากจักรพรรดิ เชื้อพระวงศ์
และกลุ่มลัทธินิกายต่างๆจนหมดสิ้น การปกครองของตระกูลโทะคุงะวะก็เริ่มสั่นคลอนลงตั้งแต่เข้าศตวรรษที่ 19
และเข้าสู่ยุคเมจิในกาลต่อมา
ยุคนี้เป็นยุคที่วัฒนธรรมของราษฎรสามัญเจริญจนถึงที่สุด ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 จนถึงต้นศตวรรษที่ 18
เป็นยุคของวัฒนธรรมเก็นโระกุ (元禄文化 Genroku-bunka) ซึ่งเป็นของนักรบผสมกับราษฎรสามัญ มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองใหญ่ ๆ
อย่างเกียวโต โอซาก้า เอกลักษณ์คือละครหุ่น ละครคาบุกิและหัตถกรรมต่าง ๆ
อิทธิพลของลัทธิขงจื้อ และวัฒนธรรมเก็นโระกุ
ในช่วงต้นศตวรรษที่สิบเจ็ด การติดต่อกับเกาหลีและจีน ทำให้ลัทธิขงจื้อใหม่(Neo-Confucianism)
แพร่เข้ามาในชนชั้นซะมุไรอันเป็นชนชั้นปกครองของญี่ปุ่น ประกอบกับสภาพว่างเว้นสงครามเป็นเวลานานถึงสองร้อยปี
ทำให้ชนชั้นซะมุไรผันตนเองจากชนชั้นนักรบ มาเป็นชนชั้นนักปราชญ์ ต่อมาอำนาจการปกครองตกอยู่ที่กลุ่มขุนนางฟุไดไดเมียว
(เป็นกลุ่มผู้จงรักภักดีต่อโชกุนในระดับปานกลาง โดยจะเป็นกลุ่มตระกูลผู้รับใช้มาเก่าก่อน หรือเข้ามาก่อนสงครามเซกิงาฮาระ
เช่น ตระกูล อิอิ,ซากาอิ,ฮอนดะ,ซากากิบาระ เป็นต้น)
และปราชญ์ขงจื้อ เข้ามามีอิทธิพลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านการปกครอง สังคมและวัฒนธรรมไปในทางของพลเรือนมากขึ้น
ปรัชญาของลัทธิขงจื้อทำให้สังคมญี่ปุ่นแบ่งออกเป็นสี่ชนชั้นอย่างชัดเจน
และมีผลให้สังคมญี่ปุ่นมีความเคร่งครัด ยึดติดในพิธีรีตองมากอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
เรื่องราวของสี่สิบเจ็ดโรนินผู้ภักดีต่อนาย ตามวิถีบูชิโด เกิดในช่วงเวลานี้
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%B0
http://ppantip.com/topic/31911854
จริยธรรมของศาสนาชินโต โดยสังเขป
จริยธรรมของศาสนาชินโต ส่วนใหญ่เป็นประมวลหลักความประพฤติของ ชาวญี่ปุ่น เป็นข้อปฏิบัติของซามูไร
นักรบหรือขุนนาง โดยสรุปดังต่อไปนี้
1) ความกล้าหาญ นับเป็นจริยธรรมข้อแรกของศาสนาชินโต โดยจะสั่งสอนเด็กตั้งแต่เยาว์วัยพอที่จะเริ่มเข้าใจได้ เมื่อเด็กเริ่มที่จะร้องไห้
บิดามารดาจะดุเด็กน้อยที่ยอมแพ้และมีความอ่อนแอ ชาวญี่ปุ่นจึงเป็นคนกล้าหาญ โดยถือว่าการตายอย่างกล้าหาญถือเป็นเกียรติสูงสุด
การตายอย่างกล้าหาญดีกว่ามีชีวิตอยู่อย่างไร้เกียรติ จะเห็นได้จากการคว้านท้องตัวเองตายของพวกซามูไร เพราะถือว่าเป็นการตายอย่างกล้าหาญ
2) ความขลาดเป็นความชั่ว ตามคำสอนของชินโต บาปทุกอย่างไม่ว่าเล็กหรือใหญ่จะได้รับการให้อภัยถ้าสำนึกผิด ยกเว้นการกระทำ 2 อย่าง คือ ความขลาดและการลักขโมย
3) ความภักดี โดยเฉพาะการจงรักภักดีต่อพระเจ้าจักรพรรดิ ต่อมาขยายออกไปถึงสมาชิกภายในครอบครัวและสังคมอีกด้วย
http://hselearning.kku.ac.th/UserFiles/chapter8%282%29.pdf
การล้างแค้น
รับอิทธิพลจากจีนโบราณ ปรากฏบัญญัติในคัมภีร์นิติจรรยา (หลี่จี้) ว่า แค้นฆ่าบิดา(มารดร) มิอาจอยู่ร่วมฟ้า
ถือเป็นคุณธรรมตามค่านิยม และประเพณีจีนโบราณ เป็นการแสดงความกตัญญูที่ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
(บางคนสั่งเสียห้ามล้างแค้นก็มี)
สมัยต้าซ่ง มีกฎหมายบัญญัติไว้ว่า การแก้แค้นให้คนที่ฆ่าพ่อแม่เจ้าทุกข์ ไม่ผิดกฎหมาย
สมัยเอโดะ มีกฎหมายสำหรับชนชั้น ที่สามีซามุไร จะฆ่าชู้และเมียที่หนีตามชู้ไปได้ไม่ผิด อันเป็นเหตุให้เกิดความอัปยศ
ยุคเรเนซองค์ยุโรป การดวลปืนกันระหว่างสองคนกลางที่สาธารณะ หากผู้ใดตายไป ถือว่าไม่ผิดกฎหมาย ไม่ใช่ฆาตกรรม
http://www.jadedragon.net/article-wnam.html
สตรีญี่ปุ่น
ตามอุดมคติต้องอยู่ในโอวาทสามี ปรนนิบัติรับใช้ด้วยความซื่อสัตย์ อย่างที่แม่พระเอกในเรื่องกระทำ
เรื่องที่จะมาค้อน เหวี่ยง วีน เอาแต่ใจสามเวลาหลังอาหาร คงจะเจอสั่งสอนเสียมากกว่า
ส่วนสามีจะไปไหนท่องสำนักโคมสีอะไร ก็ออกงิ้วออกโรงลำบาก แต่สามีที่ดีก็มีแต่น้อย
นางเอกคนไทย เมื่อไปเป็นสะใภ้จะเจอเรื่อง "คนนอก" ได้ไม่ยาก เผอิญแม่ยายไปสวรรค์แล้ว เรื่องคงเปลี่ยนไปอีกแบบ
การเคารพผู้มีอาวุโส
จะเป็นแบบขั้นบันได เสียงของคนที่อาวุโสสุดจะดังเสมอ แต่จะเปิดโอกาสให้เด็กๆแสดงความสามารถ ตามความเหมาะสม
ในบางที่จะเจอ เถ้าแก่ใหญ่ เถ้าแก่รอง เถ้าแก่น้อย ได้ แต่บางที่กลายเป็นเสี่ยใหญ่ เสี่ยน้อยก็มี
การเคารพรุ่นพี่ แสดงความอ่อนน้อมถ่อมตน จึงเป็นขนบที่เคร่งครัด มีตั้งแต่ยุคจีนโบราณ เช่น
เฉียนหลงเป็นไท่ซ่านหวงตี้แล้ว เจียชิ่งเป็นฮ่องเต้ แต่ตราประทับที่ตราลงเอกสาร กลับเป็นตราเฉียนหลง
ภายหลังได้พัฒนาเป็น สามประสาน แก่ กลาง หนุ่ม เพราะต่างมีจุดดีจุดด้อยต่างกัน
เมื่อทำงานร่วมกันแบบเปิดใจ ย่อมเสริมจุดแข็งลบจุดด้อยไปได้
ห้วงเวลาที่เดินเรื่อง น่าจะเป็นยุค90 เพราะรถที่พระเอกนั่งเป็นโตโยต้าคราวน์ รุ่นเก่า ตอนแรกนึกกว่ารถตำรวจ
ถ้ารวยระดับนั้นนิยมนั่งรถยุโรป อย่างโรสรอยซ์ เบนลี่ เบนซ์ บีเอ็ม หรือพวงมาลัยซ้าย เช่น คาดิแลค ลินคอน
ถ้าเป็นรถญี่ปุ่นต้องรุ่นนี้
Toyota Century รุ่นที่สอง 20 ปีเปลี่ยนแบบที
ภายในรถจะนิยมติดม่านที่กระจกหลัง และประตูหลังเพื่อความเป็นส่วนตัว อาจมีประดับผ้าลายลูกไม้สีขาวที่เบาะหลังด้วย
ฉากจำลองเมืองที่จิบะ มีสัดส่วนที่โอ่โถงมาก แสดงว่าตระกูลโอนิซึกะ บริหารเมืองดี ตึกแต่ละห้องจึงมีหน้ากว้างกว่าขนาดทั่วไปในเมืองอื่น
อย่างในเกียวโตจะหน้าแคบแต่ลึก เวลาดูละครญี่ปุ่นห้องจะแคบมาก เพราะตอนสร้างตึกก็ไม่ใหญ่มาก เนื่องจากมีพื้นที่ราบจำกัด
และมีราคาแพง ประตูเลื่อนจึงนิยมมากเพราะใช้เข้าออกสะดวก และปลอดภัยจากแผ่นดินไหวที่เกิดบ่อยมากทั่วประเทศ
โครงสร้างอาคารจะเล็กชิด เข้าด้วยลิ้มไม้เพื่อให้โครงสร้างขยับได้เล็กน้อย
คิวบู๊ ดูง่ายแบบไอ้มดแดง ขบวนการหลากสี แต่ไม่มีเสียงเอฟเฟคที่คุ้นเคย ถ้าพระเอกมีแปลงร่าง ท่ากระโดดถีบถ่ายเน้นๆก็ใช่เลย
เครื่องแต่งกาย พระเอกไม่เด่นดูไม่น่าเกรงขาม ตอนหน้าได้เป็นหัวหน้ากลุ่มคงดูดีขึ้น พระรองเท่กว่า
นักแสดง สวยหล่อเกินจริง แต่นางเอกเหมาะมาก(ปรกติคนญี่ปุ่นไม่นิยมจัดฟัน การมีเขี้ยวฟันซ้อนเป็นความน่ารักอย่างหนึงของสาวๆ)
งดงามเลอค่าราวกับเครื่องกระเบื้องชั้นดีจากจิ่งเต๋อเจิ้น มณฑลเจียงซี(กังไส) เจียงหนาน(แดนใต้) ที่ล้ำเลิศในใต้หล้า
青花瓷 Qing Hua Ci (Blue Flower Porcelain) เครื่องลายคราม
คำร้อง ฟางเหวินซาน
ขับร้อง หลิวอี้เฟย
ทำนอง โจวเจี๋ยหลุน(เจย์ โชว์)
ฉากแช่น้ำร้อน ถ่ายนานจนมีเมาน้ำร้อนเหมือนกัน ถ่ายได้ดี ถ้าเป็นของจริงไม่น่าดู
แต่น่าจะใส่cg ลงเสียงง่อยๆ เช่น เหงื่อแตก อีการ้อง เวลาที่สามหนุ่มฟัง เรื่องนางร้ายว่าเป็นยอดกุลสตรี
ภาพไกลจนดูสีหน้าเซ็งๆของสามคนไม่ออก แต่ที่เซ็นเซย์หญิงทั้งสามบอกใช้ไม่ได้ ถ่ายดีแสดงความก๋ากั่นของนางร้ายได้หมด
รถรถโดนระเบิดลงทุนใช้รถจริง ปรกติจะcg แต่นั่งมาสี่คน ไม่มีคนขับ ให้ไดสุเกะขับ?
ปูพื้นมาแล้วสองตอน จากนี้คงเดินเรื่องพระเอกเต็มที่ ดูต่อไปว่าจะเข้มข้นแบบ
สวี่เหวินเฉียง กับติงลี่ ในซ่างไห่ทาน(ชายหาดแม่น้ำหวงผู่ที่ซ่างไห่-เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้)หรือไม่
ท้ายนี้ผิดพลาดประการใด ผู้เขียนต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ ขอบคุณครับ
อันชีวิตคนเราแสนสั้นนัก เพียงแค่ห้าสิบก็ตายจาก ทุกสิ่งเป็นเพียงภาพลวงตา คิดมากไปก็เท่านั้น
人間五十年、化天のうちを比ぶれば、夢幻の如くなり
Human life lasts only 50 years, Contrast human life with life of Geten, It is but a very dream and illusion.
วรรคทองจากเพลง '"อัสสึโมริ" ในละครโนะเรื่อง "โควะกะไม" บทเพลงที่ โอดะ โนบุนากะ วีรบุรุษแห่งโอวาริ ชื่นชอบ
เพลงนี้เป็นกำลังใจแด่คนที่อยู่มีแรงสู้ชีวิตต่อไป
เพลง สุกียากี้ (อังกฤษ: Sukiyaki ; ญี่ปุ่น: 上を向いて歩こう ("Ue o muite arukō") มีความหมายว่า "แหงนมองขึ้นฟ้าเดินหน้าไป")1961
ขับร้องโดย คิว ซาคาโมโตะ
คำร้องโดย โรกุสุเกะ เออิ
ทำนองโดย ฮาชิได นากามุระ
ชื่อเพลง "สุกียากี้" อันหมายถึงอาหารประเภทหม้อต้ม ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกับเนื้อเพลงหรือความหมายเพลงเลย
การใช้คำนี้มีวัตถุประสงค์ให้ชื่อ สั้น ติดหู เป็นที่จดจำในความเป็นญี่ปุ่น และมีความคุ้นเคยกับผู้ใช้ภาษาอังกฤษ