สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 20
อยากทราบเหมือนกัน ใครโดนมากับตัวช่วยมาแถลงไขทีนึงเถอะ
คือถ้ามีกฎบอกว่า ก่อนออกจากเมืองไทยต้องเอาของไปสำแดงที่ศุลกากรก่อน เราไม่ mind นะที่จะทำแบบนั้น แต่ระบบที่จะเอามารองรับการออกกฎแบบนี้คืออะไรคะ เช่น ผู้หญิงทั่วไปเดินทางต่างประเทศ ต้องมี
1 - เครื่องสำอางค์ drugstore, counter brand ผสมๆ กันไป เครื่องสำอางค์ที่เอาจากบ้านไป
2 - กระเป๋า กระสอบ หรืออะไรก็แล้วแต่ ปกติเราเดินทาง เรามันมีกระเป๋าสะพาย 1 ใบที่ติดตัวขึ้นเครื่อง และมีอีก 1-2 ที่ใส่ luggage ไปเผื่อเปลี่ยนใช้ระหว่างเดินทาง (ไปประชุม กับไปเที่ยว - dress code ไม่เหมือนกันแล้วนะ ตรงนี้ต้องเข้าใจ) รแล้วเนื่องจากของผู้หญิงจุกจิกเยอะ ก็ต้องมีกระเป๋าเล็กๆ กระเป๋าน้อยไว้แยกของให้เป็นสัดส่วนอีกทีนึง แบบนี้เอาอะไรตัดสินว่าเกินความจำเป็นของคนหนึ่งคนจะใช้หรือเปล่า
บางคนชอบโยนทุกอย่างลงไปในก้นกระเป๋า แต่บางคนก็อยากจะจัดระเบียบให้กระเป๋า คุณท่านเอาอะไรตัดสิน
3 - รองเท้า ไม่ว่าจะส้นสูง ผ้าใบ แตะ หรืออะไร (ไปประชุม กับไปเที่ยว - dress code ไม่เหมือนกันแล้วนะ ตรงนี้ต้องเข้าใจ อะเกนนะ) ถ้าเกิดเดินๆไปที่นั่น รองเท้าส้นหัก --> ต้องซื้อใหม่ รองเท้ากัด --> ก็ต้องซื้อใหม่
4 - เสื้อผ้า โดยเฉพาะหน้าหนาว บางทีเสื้อผ้าที่เตรียมไปไม่พอ เราต้องไปซื้อ overcoat ใหม่ แล้วถ้าเราจะยอมลงทุนซื้อ overcoat ราคาเกิน 10000 ขนเป็ดไรแบบนี้ (ได้ใช้บ่อย คิดว่าคุ้มที่จะจ่าย) แล้วทีนี้แปลว่า เราต้องกลับมาเสียภาษี ???
คุณท่านศุลฯ จะตรวจสอบยังงัยคะ กางกระเป๋า luggage มาตรวจนับก่อน check-in ?
ที่เขียนไว้ข้างบนทั้งหมด คือสิ่งที่เราเป็นและเราโดนมาเมื่อ 3 สัปดาห์ก่อน โดยเฉพาะเรื่องกระเป๋าเรา เรามีกระเป๋าใบเล็กใบน้อย ที่มีของใส่อยู่ ท่านๆ ทั้งหลายบอกว่า ของที่เราเอาออกไปเอาเข้ามาต้องเสียภาษี อันนี้มึนนะ และกระเป๋าอีกใบของเราที่พับมาในกระเป๋าใหญ่ ถ้าจะช่วยใช้สติดูจะรู้ว่า มันเป็นของใช้แล้วแบบถลอกมากมาย ไม่ใช่ของซื้อใหม่ที่เพิ่งใช้ไปแล้วมาหลอกว่าใช้แล้วแน่นอน ไม่ใช่เห็นแค่ว่าเป็น brandname ก็จ้องจะจับกันให้หมด กรุณามีสติค่ะ
แล้วเราว่ากฎแบบนี้ที่ออกมา มันยิ่งสนับสนุนอาชีพหิ้วออกให้เจริญรุ่งเรืองมากขึ้น ยิ่งสนับสนุนการทุจริตของพวกท่านๆ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสนับสนุนให้คนใช้เส้นใช้สาย ให้มารับเพื่อผ่านด่านนี้ไป แล้วคุณบอกว่ากำจัดคอรัปชั่น และทุจริตเหรอ นี่คือวิธีปฎิบัติเหรอ
ที่สำคัญมันเหมือนเป็นการแบ่งชนชั้นไปเลย ว่าถ้าคนมีเส้นสายก็ไม่มีปัญหา เธอจะช้อประเบิดระเบ้อยังงัยได้เลยตามสบาย เดี๋ยวมีคนพาออก ขณะที่คนธรรมดาไม่ได้มีเส้นมีสายอะไร ก็ช่วยตัวเองไปนะ รับกรรมไป
เราว่าคนกลุ่มที่ต้องอาศัยเส้นสาย หรือคนใหญ่คนโตที่ต้องมีคนพาออก พวกนี้ต่างหากที่ควรไปจับให้มาเสียภาษี พวกนี้ขนยิ่งกว่าขน เค้ารวยเราไม่ว่า แต่ถ้าคนธรรมดาไม่มีเส้นสายต้องเสียภาษี พวกเค้าก็ควรจะต้องเสียเหมือนกัน ไม่ใช่เดินลอยหน้าลอยตาออกไป ไม่เสียภาษี มีต้นทุนสินค้าหรือของใช้ถูกกว่าคนธรรมดาสิ
คือถ้ามีกฎบอกว่า ก่อนออกจากเมืองไทยต้องเอาของไปสำแดงที่ศุลกากรก่อน เราไม่ mind นะที่จะทำแบบนั้น แต่ระบบที่จะเอามารองรับการออกกฎแบบนี้คืออะไรคะ เช่น ผู้หญิงทั่วไปเดินทางต่างประเทศ ต้องมี
1 - เครื่องสำอางค์ drugstore, counter brand ผสมๆ กันไป เครื่องสำอางค์ที่เอาจากบ้านไป
2 - กระเป๋า กระสอบ หรืออะไรก็แล้วแต่ ปกติเราเดินทาง เรามันมีกระเป๋าสะพาย 1 ใบที่ติดตัวขึ้นเครื่อง และมีอีก 1-2 ที่ใส่ luggage ไปเผื่อเปลี่ยนใช้ระหว่างเดินทาง (ไปประชุม กับไปเที่ยว - dress code ไม่เหมือนกันแล้วนะ ตรงนี้ต้องเข้าใจ) รแล้วเนื่องจากของผู้หญิงจุกจิกเยอะ ก็ต้องมีกระเป๋าเล็กๆ กระเป๋าน้อยไว้แยกของให้เป็นสัดส่วนอีกทีนึง แบบนี้เอาอะไรตัดสินว่าเกินความจำเป็นของคนหนึ่งคนจะใช้หรือเปล่า
บางคนชอบโยนทุกอย่างลงไปในก้นกระเป๋า แต่บางคนก็อยากจะจัดระเบียบให้กระเป๋า คุณท่านเอาอะไรตัดสิน
3 - รองเท้า ไม่ว่าจะส้นสูง ผ้าใบ แตะ หรืออะไร (ไปประชุม กับไปเที่ยว - dress code ไม่เหมือนกันแล้วนะ ตรงนี้ต้องเข้าใจ อะเกนนะ) ถ้าเกิดเดินๆไปที่นั่น รองเท้าส้นหัก --> ต้องซื้อใหม่ รองเท้ากัด --> ก็ต้องซื้อใหม่
4 - เสื้อผ้า โดยเฉพาะหน้าหนาว บางทีเสื้อผ้าที่เตรียมไปไม่พอ เราต้องไปซื้อ overcoat ใหม่ แล้วถ้าเราจะยอมลงทุนซื้อ overcoat ราคาเกิน 10000 ขนเป็ดไรแบบนี้ (ได้ใช้บ่อย คิดว่าคุ้มที่จะจ่าย) แล้วทีนี้แปลว่า เราต้องกลับมาเสียภาษี ???
คุณท่านศุลฯ จะตรวจสอบยังงัยคะ กางกระเป๋า luggage มาตรวจนับก่อน check-in ?
ที่เขียนไว้ข้างบนทั้งหมด คือสิ่งที่เราเป็นและเราโดนมาเมื่อ 3 สัปดาห์ก่อน โดยเฉพาะเรื่องกระเป๋าเรา เรามีกระเป๋าใบเล็กใบน้อย ที่มีของใส่อยู่ ท่านๆ ทั้งหลายบอกว่า ของที่เราเอาออกไปเอาเข้ามาต้องเสียภาษี อันนี้มึนนะ และกระเป๋าอีกใบของเราที่พับมาในกระเป๋าใหญ่ ถ้าจะช่วยใช้สติดูจะรู้ว่า มันเป็นของใช้แล้วแบบถลอกมากมาย ไม่ใช่ของซื้อใหม่ที่เพิ่งใช้ไปแล้วมาหลอกว่าใช้แล้วแน่นอน ไม่ใช่เห็นแค่ว่าเป็น brandname ก็จ้องจะจับกันให้หมด กรุณามีสติค่ะ
แล้วเราว่ากฎแบบนี้ที่ออกมา มันยิ่งสนับสนุนอาชีพหิ้วออกให้เจริญรุ่งเรืองมากขึ้น ยิ่งสนับสนุนการทุจริตของพวกท่านๆ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสนับสนุนให้คนใช้เส้นใช้สาย ให้มารับเพื่อผ่านด่านนี้ไป แล้วคุณบอกว่ากำจัดคอรัปชั่น และทุจริตเหรอ นี่คือวิธีปฎิบัติเหรอ
ที่สำคัญมันเหมือนเป็นการแบ่งชนชั้นไปเลย ว่าถ้าคนมีเส้นสายก็ไม่มีปัญหา เธอจะช้อประเบิดระเบ้อยังงัยได้เลยตามสบาย เดี๋ยวมีคนพาออก ขณะที่คนธรรมดาไม่ได้มีเส้นมีสายอะไร ก็ช่วยตัวเองไปนะ รับกรรมไป
เราว่าคนกลุ่มที่ต้องอาศัยเส้นสาย หรือคนใหญ่คนโตที่ต้องมีคนพาออก พวกนี้ต่างหากที่ควรไปจับให้มาเสียภาษี พวกนี้ขนยิ่งกว่าขน เค้ารวยเราไม่ว่า แต่ถ้าคนธรรมดาไม่มีเส้นสายต้องเสียภาษี พวกเค้าก็ควรจะต้องเสียเหมือนกัน ไม่ใช่เดินลอยหน้าลอยตาออกไป ไม่เสียภาษี มีต้นทุนสินค้าหรือของใช้ถูกกว่าคนธรรมดาสิ
ความคิดเห็นที่ 7
กฏหมายปัญญาอ่อนตรงไหน คนที่ชอบฝ่าฝืนกฏหมายควรสำรวจตัวเองมากกว่า ถ้าเอาของที่มีมูลค่ามากกว่าที่กฎหมายกำหนด ก็สำแดงรายการเสียก่อนซิ เวลากลับเข้ามาจะได้ไม่มีปัญหา และควรไปสนามบินก่อนเวลามากหน่อยเพื่อดำเนินการให้เสร็จสิ้นก่อนจะได้ไม่ต้องอ้างว่าไม่มีเวลา
กฎหมายมีไว้ให้ทุกคนปฎิบัติตาม ไม่ใช่มีไว้ให้ฝ่าฝืน ประเทศชาติจะได้สงบสุขไม่วุ่นวาย
กฎหมายมีไว้ให้ทุกคนปฎิบัติตาม ไม่ใช่มีไว้ให้ฝ่าฝืน ประเทศชาติจะได้สงบสุขไม่วุ่นวาย
แสดงความคิดเห็น
จากการที่ กรมศุล ติดป้ายของเกิน 10,000 ต้องเสียภาษี มีคำถามค่ะ
ถ้าอิชั้น เป็นนักธุรกิจเดินทางทุกสัปดาห์ เป็นคนติดแบรนด์ทั้งตัว
กระเป๋า 50,000 +นาฬิกา 100,000+ชุดแซก 8,000+เสื้อคลุม 20,000+แว่นตา12,000
และมีของอย่างนี้ติดกระเป๋าอีก 7-10 ชุด ไปต่างประเทศทุกสัปดาห์
อิชั้นต้องเสียภาษีเท่าไหร่ค่ะ และต้องเสียทุกครั้งที่บินกลับมาไหมคะ
http://www.dailynews.co.th/Content/economic/249106/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%AF%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD+%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%9B%E0%B8%97.%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5