ยกเว้นนายอัยยณัฐ ถินอภัย ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ผู้ออกมาให้ข้อมูลรายละเอียดที่ผมจะนำมาเสนอ
นอกเหนือจากนั้นผมขอไม่เอ่ยชื่อพาดพิงใคร และใส่ link เชื่อมไปที่ใด เพื่อป้องกันกระทู้ถูกลบนะครับ
นายอัยยณัฐ ถินอภัย ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) กล่าวว่า โครงการทางพิเศษสายนี้ มีความเป็นมาตั้งแต่ปี 2530 รัฐบาลได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน พ.ศ.2530 เพื่อสร้างทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ แต่ในระหว่างอายุ พระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว กทพ. ไม่สามารถดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ให้แล้วเสร็จได้ เนื่องจากได้รับการต่อต้านจากประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง จึงได้ขอต่ออายุพระราชกฤษฎีกาฯ ต่อจากพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2530 เรื่อยมาอีกรวม 6 ครั้ง คือ พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2534 พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2538 พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2542 พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2546 และพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2550 สำหรับพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2554 นี้นับเป็นฉบับที่ 7 โดยแนวเขตทางพิเศษตามพระราชกฤษฎีกาฯ ทั้ง 7 ฉบับ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแนวเขตพระราชกฤษฎีกา
พร้อมกันนี้กทพ. ได้ส่งหนังสือถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อรายงานข้อเท็จจริงกรณีการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินบริเวณที่จะเวนคืน เพื่อสร้าง C/D Road ว่าเป็นการต่ออายุพระราชกฤษฎีกาฯ ที่หมดอายุลงทุก ๆ 4 ปี ซึ่งครั้งนี้นับเป็นฉบับที่ 7 โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงแนวเขตพระราชกฤษฎีกาฯ
ปี 2530
ปี 2534
ของแถม ปี 2535
ปี 2538
ปี 2542
ปี 2546
ปี 2551
ปี 2554
สุดท้ายผมได้ลองเอาภาพแนวแผนที่ปี 2538, 2542, 2546, 2551, 2554 รวมทั้งหมด 5 ปี
มาทำการต่อเพื่อทำการมองด้วยสายตาเปรียบเทียบกันว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร
เพื่อป้องกันไม่ให้กระทู้ถูกลบ ขอตั้งเป็นกระทู้ข้อมูล เปิดพรฎ.เวนคืน 7 ยุค 7 สมัย
นอกเหนือจากนั้นผมขอไม่เอ่ยชื่อพาดพิงใคร และใส่ link เชื่อมไปที่ใด เพื่อป้องกันกระทู้ถูกลบนะครับ
นายอัยยณัฐ ถินอภัย ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) กล่าวว่า โครงการทางพิเศษสายนี้ มีความเป็นมาตั้งแต่ปี 2530 รัฐบาลได้มีพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน พ.ศ.2530 เพื่อสร้างทางพิเศษสายแจ้งวัฒนะ-บางโคล่ แต่ในระหว่างอายุ พระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว กทพ. ไม่สามารถดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ให้แล้วเสร็จได้ เนื่องจากได้รับการต่อต้านจากประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง จึงได้ขอต่ออายุพระราชกฤษฎีกาฯ ต่อจากพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2530 เรื่อยมาอีกรวม 6 ครั้ง คือ พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2534 พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2538 พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2542 พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2546 และพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2550 สำหรับพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับปี พ.ศ.2554 นี้นับเป็นฉบับที่ 7 โดยแนวเขตทางพิเศษตามพระราชกฤษฎีกาฯ ทั้ง 7 ฉบับ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแนวเขตพระราชกฤษฎีกา
พร้อมกันนี้กทพ. ได้ส่งหนังสือถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อรายงานข้อเท็จจริงกรณีการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินบริเวณที่จะเวนคืน เพื่อสร้าง C/D Road ว่าเป็นการต่ออายุพระราชกฤษฎีกาฯ ที่หมดอายุลงทุก ๆ 4 ปี ซึ่งครั้งนี้นับเป็นฉบับที่ 7 โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงแนวเขตพระราชกฤษฎีกาฯ
ปี 2530
ปี 2534
ของแถม ปี 2535
ปี 2538
ปี 2542
ปี 2546
ปี 2551
ปี 2554
สุดท้ายผมได้ลองเอาภาพแนวแผนที่ปี 2538, 2542, 2546, 2551, 2554 รวมทั้งหมด 5 ปี
มาทำการต่อเพื่อทำการมองด้วยสายตาเปรียบเทียบกันว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร