สวัสดีค่ะ
กำลังทำรายงานวิชาเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์ปัจจัยกำหนดการผลิตเหล็กของแต่ละประเทศอยู่
เข้าใจว่าเหล็กผลิตได้สองแบบ ต้นทุนคงที่/ต้นทุนแปรผัน/ปัจจัยการผลิต/ขนาดการผลิต/ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ต่างกัน
แต่หลักๆ ที่อยากรู้คือ
1. ตัวเลขต้นทุนคงที่ หรือ เงินลงทุนทั้งสองแบบค่ะ
ที่หาได้เป็นเงินลงทุนที่หารต่อหน่วยเหล็กที่ผลิตได้แล้ว คือ
ต้นทุนลงทุนของแบบแรก คือ 275 ดอลลาร์ ต่อ 2000 ดอลลาร์ต่อตันต่อปี
ต้นทุนลงทุนของส่วนแบบที่สอง 145 ดอลลาร์ ต่อ 2000 ดอลลาร์ต่อตันต่อปี
อยากได้เป็นตัวเลขดิบ ที่ไม่หารต่อเหล็กที่ผลิตได้
.... จริงๆ ถามข้อเดียวค่ะ 555
เข้าใจว่าแบบแรก BF/BOF เนี่ย ต้นทุนลงทุนแพงกว่ามากกก และผลิตได้เยอะกว่ามากกก ต่อหนึ่งโรงงาน แต่เพราะเงินลงทุนแพงกว่ามากกกก เลยมีไม่กี่ประเทศที่ใช้ เช่น จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เยอรมัน
ส่วนแบบที่สอง EAF เนี่ย ใหม่กว่า ต้นทุนลงทุนถูกกว่า แต่ต้นทุนแปรผันแพงกว่าเพระใช้ไฟฟ้า ประเทศที่ใช้ก็เลยเป็นประเทศเล็กๆ หน่อย เช่น ไทย มาเลเซีย
ไม่แน่ใจว่าถูกหรือเปล่า
รบกวนด้วยนะคะ >__< !
ลองไปค้นข้อมูลเองแล้ว กลัวเข้าใจผิดจังง (0 _ 0)
ต้นทุนการผลิต อุตสาหกรรมเหล็ก แบบ BF/BOF กับ EAF
กำลังทำรายงานวิชาเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์ปัจจัยกำหนดการผลิตเหล็กของแต่ละประเทศอยู่
เข้าใจว่าเหล็กผลิตได้สองแบบ ต้นทุนคงที่/ต้นทุนแปรผัน/ปัจจัยการผลิต/ขนาดการผลิต/ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ต่างกัน
แต่หลักๆ ที่อยากรู้คือ
1. ตัวเลขต้นทุนคงที่ หรือ เงินลงทุนทั้งสองแบบค่ะ
ที่หาได้เป็นเงินลงทุนที่หารต่อหน่วยเหล็กที่ผลิตได้แล้ว คือ
ต้นทุนลงทุนของแบบแรก คือ 275 ดอลลาร์ ต่อ 2000 ดอลลาร์ต่อตันต่อปี
ต้นทุนลงทุนของส่วนแบบที่สอง 145 ดอลลาร์ ต่อ 2000 ดอลลาร์ต่อตันต่อปี
อยากได้เป็นตัวเลขดิบ ที่ไม่หารต่อเหล็กที่ผลิตได้
.... จริงๆ ถามข้อเดียวค่ะ 555
เข้าใจว่าแบบแรก BF/BOF เนี่ย ต้นทุนลงทุนแพงกว่ามากกก และผลิตได้เยอะกว่ามากกก ต่อหนึ่งโรงงาน แต่เพราะเงินลงทุนแพงกว่ามากกกก เลยมีไม่กี่ประเทศที่ใช้ เช่น จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เยอรมัน
ส่วนแบบที่สอง EAF เนี่ย ใหม่กว่า ต้นทุนลงทุนถูกกว่า แต่ต้นทุนแปรผันแพงกว่าเพระใช้ไฟฟ้า ประเทศที่ใช้ก็เลยเป็นประเทศเล็กๆ หน่อย เช่น ไทย มาเลเซีย
ไม่แน่ใจว่าถูกหรือเปล่า
รบกวนด้วยนะคะ >__< !
ลองไปค้นข้อมูลเองแล้ว กลัวเข้าใจผิดจังง (0 _ 0)