ตอนนี้ใช้บัตรเครดิตของ KBank ค่ะ
สรุปยอด วันที่ 20 พค.57 ครบกำหนดชำระ 4 มิย.57
ที่ผ่านมา เราใช้เดือนนึง ไม่เกิน 2,000 บาท แต่เดือนนี้เผลอใช้เยอะไปหน่อยค่ะ
เลยคาดว่าจะจ่ายได้ไม่เต็มจำนวน แต่ที่แน่ๆ จ่ายมากกว่าขั้นต่ำหลายเท่าค่ะ
เลยอยากสอบถามการคิดดอกเบี้ยบัตรเครดิตในงวดถัดไป ค่ะ
สมมติเราใช้จ่ายดังนี้
22 เม.ย 1,500 บาท
30 เม.ย 3,500 บาท
5 พ.ค. 2,000 บาท
18 พ.ค. 50,000 บาท
19 พ.ค. 10,000 บาท
สรุปยอด วันที่ 20 พค. 70,000 บิลมาเรียบร้อยแล้วค่ะ ชำระขั้นต่ำ 10% คือ 7,000 บาท
แต่ถ้าเราไปจ่ายวันที่ 4 มิย (วันครบกำหนดชำระ) 30,000 บาท
ทำให้เหลือยอดคงค้าง 40,000 บาท
อยากทราบว่าในรอบบิลถัดไป เราจะถูกคิดดอกเบี้ยยังไงบ้างคะ
(อ่านรายละเอียดการคิดดอกเบี้ย ที่ใบแจ้งหนี้ แล้วยัง งงๆ ค่ะ)
เท่าที่ทราบคือ ดอกเบี้ยจะมี 2 ส่วน เอามารวมกัน คือ
1. (ยอด ณ วันที่รูดใช้จ่าย x 20% x จำนวนวันจนถึงวันสรุป ) หาร 365 วัน
2. (ยอดคงค้าง x 20% x จำนวนวันจนถึงวันสรุป ) หาร 365 วัน
คำนวนได้เท่าไหร่ เอามาทบกับเงินต้น 40,000 บาท ที่ยังคงค้างชำระอยู่
ที่เราสงสัยคือ ตอนที่เราจ่ายไป 30,000 บาท มันจะไปหักกับค่าใช้จ่ายที่รูดไปยอดแรกๆ มั้ยคะ
(ยอดแรกๆ หมายถึง 1,500 + 3,500 + 2,000 + ส่วน 50,000 บางส่วน)
ทำให้การคิดดอกเบี้ยในคราวต่อไปจะไม่เอายอด 1,500 + 3,500 + 2,000 มาคำนวน
คำนวนที่คงค้างเหลือจาก 50,000 คือ 43,000
หรือทางธนาคารจะไม่ได้คิดแบบนั้น
แต่คิดจากที่หักไปจากยอดรวม 70,000 บาท
ทำให้การคิดดอกเบี้ยในรอบบิลถัดไป ก็คืดที่
1,500 x 20% x จำนวนวัน
3,500 x 20% x จำนวนวัน
.
.
.
เรื่อยมาเรื่อยๆ อยู่ดี และมีดอกเบี้ยอีกส่วนที่คิดจากยอดคงค้าง 40,000 บาท น่ะค่ะ
รบกวนเพื่อนๆ พี่ๆ ช่วยชี้แจงให้เข้าใจด้วยนะคะ เราอ่านแล้วยังไม่ค่อยเข้าใจอยู่ค่ะ
ปล. ในรอบบิลถัดไป เราสามารถชำระเต็มได้ค่ะ (40,000 + ดอกเบี้ยอีกคาดว่าไม่น่าเกิน 5,000)
สอบถามเรื่องการชำระค่าบัตรเครดิตหน่อยค่ะ
สรุปยอด วันที่ 20 พค.57 ครบกำหนดชำระ 4 มิย.57
ที่ผ่านมา เราใช้เดือนนึง ไม่เกิน 2,000 บาท แต่เดือนนี้เผลอใช้เยอะไปหน่อยค่ะ
เลยคาดว่าจะจ่ายได้ไม่เต็มจำนวน แต่ที่แน่ๆ จ่ายมากกว่าขั้นต่ำหลายเท่าค่ะ
เลยอยากสอบถามการคิดดอกเบี้ยบัตรเครดิตในงวดถัดไป ค่ะ
สมมติเราใช้จ่ายดังนี้
22 เม.ย 1,500 บาท
30 เม.ย 3,500 บาท
5 พ.ค. 2,000 บาท
18 พ.ค. 50,000 บาท
19 พ.ค. 10,000 บาท
สรุปยอด วันที่ 20 พค. 70,000 บิลมาเรียบร้อยแล้วค่ะ ชำระขั้นต่ำ 10% คือ 7,000 บาท
แต่ถ้าเราไปจ่ายวันที่ 4 มิย (วันครบกำหนดชำระ) 30,000 บาท
ทำให้เหลือยอดคงค้าง 40,000 บาท
อยากทราบว่าในรอบบิลถัดไป เราจะถูกคิดดอกเบี้ยยังไงบ้างคะ
(อ่านรายละเอียดการคิดดอกเบี้ย ที่ใบแจ้งหนี้ แล้วยัง งงๆ ค่ะ)
เท่าที่ทราบคือ ดอกเบี้ยจะมี 2 ส่วน เอามารวมกัน คือ
1. (ยอด ณ วันที่รูดใช้จ่าย x 20% x จำนวนวันจนถึงวันสรุป ) หาร 365 วัน
2. (ยอดคงค้าง x 20% x จำนวนวันจนถึงวันสรุป ) หาร 365 วัน
คำนวนได้เท่าไหร่ เอามาทบกับเงินต้น 40,000 บาท ที่ยังคงค้างชำระอยู่
ที่เราสงสัยคือ ตอนที่เราจ่ายไป 30,000 บาท มันจะไปหักกับค่าใช้จ่ายที่รูดไปยอดแรกๆ มั้ยคะ
(ยอดแรกๆ หมายถึง 1,500 + 3,500 + 2,000 + ส่วน 50,000 บางส่วน)
ทำให้การคิดดอกเบี้ยในคราวต่อไปจะไม่เอายอด 1,500 + 3,500 + 2,000 มาคำนวน
คำนวนที่คงค้างเหลือจาก 50,000 คือ 43,000
หรือทางธนาคารจะไม่ได้คิดแบบนั้น
แต่คิดจากที่หักไปจากยอดรวม 70,000 บาท
ทำให้การคิดดอกเบี้ยในรอบบิลถัดไป ก็คืดที่
1,500 x 20% x จำนวนวัน
3,500 x 20% x จำนวนวัน
.
.
.
เรื่อยมาเรื่อยๆ อยู่ดี และมีดอกเบี้ยอีกส่วนที่คิดจากยอดคงค้าง 40,000 บาท น่ะค่ะ
รบกวนเพื่อนๆ พี่ๆ ช่วยชี้แจงให้เข้าใจด้วยนะคะ เราอ่านแล้วยังไม่ค่อยเข้าใจอยู่ค่ะ
ปล. ในรอบบิลถัดไป เราสามารถชำระเต็มได้ค่ะ (40,000 + ดอกเบี้ยอีกคาดว่าไม่น่าเกิน 5,000)