สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 4
ถึงขั้นต้องกลับไปขุด คู่มือ จบมานานจนลืม และ ไม่เคยได้ใช้เลย ทั้งๆที่เรียนสาขานี้ 55555
อย่ารู้เลยว่า ที่ไหน อายเค้า สถาบันเสื่อมเสียหมด
อาศัยกระทู้นี้ รื้อฟื้นนะค่ะ เผื่อใครจะอ่านเพิ่ม
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006november28p5.htm
อธิบายง่าย ตามสไตล คนเรียนจบเศรษฐศาสตร แต่ ไม่ได้ฉลาดเรื่องพวกนี้เอาซะเลย คิดว่า คงอธิบาย ให้คนไม่รู้ เข้าใจได้ง่ายกว่าให้คนเก่งๆ อธิบายเนาะ
อันดับง่ายๆ อย่ามองเงิน เป็นเงิน ให้มองว่ามันเป็นสินค้า จำไว้เลยว่ามันคือ สินค้าๆๆๆๆๆๆๆ เหมือนไข่ สักฟอง ถามว่าทำไมบางทีไข่มันแพง บางทีไข่มันถูก? ง่ายๆนะ ที่ไข่มันถูก เพราะมันล้นตลาด ที่ไข่มันแพง เพราะ มันขาดตลาดค่ะ
ทีนี้ ขอ ลาก step ต่อนะค่ะ ไข่มันล้นตลาด ก็คือ มันเยอะมากกกก เกินความต้องการของคน ก็ หมายถึงว่า ความต้องการ ของคนที่อยากได้ไข่มัน น้อย กว่าที่มี ส่วน ตอนไข่ ตอนขาดตลาด ก็คือ ความต้องการของคนมันมีมากกว่าที่ ไข่มันมีในตลาด มันก็จะแพง
เช่นเดียวกัน เงิน (สินค้าๆๆๆๆๆๆ จำไว้) เมือ่มีคน ต้องการเงิน ไทย เยอะๆ มันก็จะแพง ค่าเงินจะแข็งขึ้น ส่วนเวลา คนต้องการเงินไทย น้อยๆ มันก็จะถูก ก็คือ ค่าเงินมันจะอ่อน
แต่ทีนี้ เงิน มันจะยุ่งยากกว่า ไข่ นะค่ะ ไข่ เราต้องการไว้ทำไร ไว้กิน คงไม่มีใครซื้อไข่มาตุน ไว้สี่หมื่นฟอง เพราะมันถูก แน่นอน หรือ แบบโอ๊ะ ไข่แพง ชั้นเอาไข่ที่ตุนไว้ออกมาขายดีกว่า
แต่กับเงิน ความต้องการใช้ มันมีมาก ประเภท กว่าไข่ เช่น
ต้องการเงินไทย เพราะจะเอามาซ์้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
ต้องการเงินไทย เพราะ จะเอามาเที่ยว
ต้องการเงินไทย เพราะจะ เอามาฝากในธนาคารไทย
ต้องการเงินไทย เพราะจะเอามาซื้อของในไทย ไปขาย
และ อื่นๆๆๆๆๆ อีกมากมาย ความต้องการของเงิน
ก็กลับมาที่เดิม นั่นคือ เมื่อ มีคนต้องการเงินเรามากๆ เงินเราก็จะแพง ค่าเงินบาท จะแข็งค่า แต่ช่วงไหน เงินไหลออก เช่นเค้าเทขายหุ้นกันในตลาด เค้าก็จะ ขายเงินบาทคืนเพื่อซื้อ ดอลล่า หรือ เงินประเทศของเค้า ก็เท่ากับว่า เค้าไม่ต้องการเงินบาท ถูกปะค่ะ ค่าเงินบาท ก็จะอ่อนค่าลง
นี่คือ ที่ไป ที่มาว่า ค่าเงินบาท มันแข็ง มันอ่อนได้อย่างไร
ทีนี้ มาถึงว่า แล้วทำไม ค่าเงินเรา ถูกกว่า ดอลล่าร ละ ทำไม ค่าเงินเรา น้อยกว่า หลายๆประเทศ
ก็เช่นเดียวกัน เทียบ กับ ดอลล่า ละกัน ดอลล่า ก็คือ สหรัฐ บาท คือไทย ที่ดอลล่า มันแพงกว่า บาท มันก็สะท้อนอยู๋ว่า คนทั่วโลก ต้องการเงินดอลล่า มากกว่าเงินบาท มันก็เลยแพงกว่า
ที่อธิบายทั้งหมด ทั้งมวล ผิดๆถูกๆ ข้างบนนี้ แค่ อยากให้เห็นภาพ กลไก มากกว่า ว่า ทำไม ยังงัย
แต่มัน ไม่ใช่เป๊ะๆนะค่ะ บางครั้ง แม้ต่างชาติเทขายหุ้น เรา ก็ไม่ได้ ทำให้ค่าเงินอ่อน เพราะ อาจจะขายของได้ดีมากกก คนมาเที่ยวไทยเยอะมากกก จนทำให้ การเทขาย หุ้น ไม่มีผลกระทบ กับค่าเงิน หรือ ใดๆก็ตาม คือ มันต้องคิดละเอียด ดูละเอียด และมีปัจจัย อีกหลายๆอย่าง
เช่น การที่ ดอลล่าร เป็น สิ่งหนุนหลังในการ พิมพ์ ธนบัตร ของ หลายๆประเทศ ก็ทำให้ ความต้องการ เงิน ดอลล่า ยังมีสูงอยู่ แม้ว่าเศรษฐกิจ สหรัฐ ไม่ได้ดีจน คนอยากได้ ดอลล่า ไปลงทุน ในบ้านเค้า หรือ ไปซื้อของบ้านเค้าสักเท่าไร แต่ดอลล่า ก็ยังเป็น ค่าเงินหลักที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ
แล้ว มันก็จะมีวิธีการทางเศรษฐศาสตร ในการคำนวณ อัตรา แลกเปลี่ยน ระหว่างแต่ละ ค่าเงินอยุ่ ว่า แต่ละ สกุลเงิน ทำไม มันต้อง แลกกันเท่านี้ ทำไม ไม่เป็นเท่านั้น ซึ่ง มันมีปัจจัย เยอะมากกกกก ในการคิด และไม่สามารถที่จะแบบ ประเทศ ชั้นอยากใช้เท่านี้นะ ชั้นจะใช้เท่านี้ ใครจะทำไม มันไม่ได้ มันจะมีความน่าเชื่อถือ ของค่าเงินด้วย โน่นนี่นั่น ทั้งพวก ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการชำระเงิน บลาๆๆๆๆ
ซึ่งบอกตรงๆว่า เกินปัญญา ของเรา จะอธิบาย ให้คนอื่นเข้าใจได้ เพราะเราก็ อ่อน คำนวณมากและลืมไปหมดแล้วด้วยยยย
ก็เอาเป็นว่า พยายาม ให้เห็นภาพ กว้างๆว่า อะไรยังงัย ทำไม ค่าเงินขึ้นลงได้ ทำไม แต่ละประเทศ ค่าเงินต่างกัน
ซึ่งต้องออกตัวว่า มันอาจจะไม่ถูกเป๊ะๆที่เราอธิบาย เพราะ จบมาก็นานมากกกแล้ว และไม่ได้ ทำงานสายนี้ด้วย
หากใครเห็นตรงไหนผิด ก็ เม้น แก้ได้เลยนะค่ะ คนอื่นจะได้เข้าใจกันถูกต้องด้วยค่ะ
อย่ารู้เลยว่า ที่ไหน อายเค้า สถาบันเสื่อมเสียหมด
อาศัยกระทู้นี้ รื้อฟื้นนะค่ะ เผื่อใครจะอ่านเพิ่ม
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006november28p5.htm
อธิบายง่าย ตามสไตล คนเรียนจบเศรษฐศาสตร แต่ ไม่ได้ฉลาดเรื่องพวกนี้เอาซะเลย คิดว่า คงอธิบาย ให้คนไม่รู้ เข้าใจได้ง่ายกว่าให้คนเก่งๆ อธิบายเนาะ
อันดับง่ายๆ อย่ามองเงิน เป็นเงิน ให้มองว่ามันเป็นสินค้า จำไว้เลยว่ามันคือ สินค้าๆๆๆๆๆๆๆ เหมือนไข่ สักฟอง ถามว่าทำไมบางทีไข่มันแพง บางทีไข่มันถูก? ง่ายๆนะ ที่ไข่มันถูก เพราะมันล้นตลาด ที่ไข่มันแพง เพราะ มันขาดตลาดค่ะ
ทีนี้ ขอ ลาก step ต่อนะค่ะ ไข่มันล้นตลาด ก็คือ มันเยอะมากกกก เกินความต้องการของคน ก็ หมายถึงว่า ความต้องการ ของคนที่อยากได้ไข่มัน น้อย กว่าที่มี ส่วน ตอนไข่ ตอนขาดตลาด ก็คือ ความต้องการของคนมันมีมากกว่าที่ ไข่มันมีในตลาด มันก็จะแพง
เช่นเดียวกัน เงิน (สินค้าๆๆๆๆๆๆ จำไว้) เมือ่มีคน ต้องการเงิน ไทย เยอะๆ มันก็จะแพง ค่าเงินจะแข็งขึ้น ส่วนเวลา คนต้องการเงินไทย น้อยๆ มันก็จะถูก ก็คือ ค่าเงินมันจะอ่อน
แต่ทีนี้ เงิน มันจะยุ่งยากกว่า ไข่ นะค่ะ ไข่ เราต้องการไว้ทำไร ไว้กิน คงไม่มีใครซื้อไข่มาตุน ไว้สี่หมื่นฟอง เพราะมันถูก แน่นอน หรือ แบบโอ๊ะ ไข่แพง ชั้นเอาไข่ที่ตุนไว้ออกมาขายดีกว่า
แต่กับเงิน ความต้องการใช้ มันมีมาก ประเภท กว่าไข่ เช่น
ต้องการเงินไทย เพราะจะเอามาซ์้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
ต้องการเงินไทย เพราะ จะเอามาเที่ยว
ต้องการเงินไทย เพราะจะ เอามาฝากในธนาคารไทย
ต้องการเงินไทย เพราะจะเอามาซื้อของในไทย ไปขาย
และ อื่นๆๆๆๆๆ อีกมากมาย ความต้องการของเงิน
ก็กลับมาที่เดิม นั่นคือ เมื่อ มีคนต้องการเงินเรามากๆ เงินเราก็จะแพง ค่าเงินบาท จะแข็งค่า แต่ช่วงไหน เงินไหลออก เช่นเค้าเทขายหุ้นกันในตลาด เค้าก็จะ ขายเงินบาทคืนเพื่อซื้อ ดอลล่า หรือ เงินประเทศของเค้า ก็เท่ากับว่า เค้าไม่ต้องการเงินบาท ถูกปะค่ะ ค่าเงินบาท ก็จะอ่อนค่าลง
นี่คือ ที่ไป ที่มาว่า ค่าเงินบาท มันแข็ง มันอ่อนได้อย่างไร
ทีนี้ มาถึงว่า แล้วทำไม ค่าเงินเรา ถูกกว่า ดอลล่าร ละ ทำไม ค่าเงินเรา น้อยกว่า หลายๆประเทศ
ก็เช่นเดียวกัน เทียบ กับ ดอลล่า ละกัน ดอลล่า ก็คือ สหรัฐ บาท คือไทย ที่ดอลล่า มันแพงกว่า บาท มันก็สะท้อนอยู๋ว่า คนทั่วโลก ต้องการเงินดอลล่า มากกว่าเงินบาท มันก็เลยแพงกว่า
ที่อธิบายทั้งหมด ทั้งมวล ผิดๆถูกๆ ข้างบนนี้ แค่ อยากให้เห็นภาพ กลไก มากกว่า ว่า ทำไม ยังงัย
แต่มัน ไม่ใช่เป๊ะๆนะค่ะ บางครั้ง แม้ต่างชาติเทขายหุ้น เรา ก็ไม่ได้ ทำให้ค่าเงินอ่อน เพราะ อาจจะขายของได้ดีมากกก คนมาเที่ยวไทยเยอะมากกก จนทำให้ การเทขาย หุ้น ไม่มีผลกระทบ กับค่าเงิน หรือ ใดๆก็ตาม คือ มันต้องคิดละเอียด ดูละเอียด และมีปัจจัย อีกหลายๆอย่าง
เช่น การที่ ดอลล่าร เป็น สิ่งหนุนหลังในการ พิมพ์ ธนบัตร ของ หลายๆประเทศ ก็ทำให้ ความต้องการ เงิน ดอลล่า ยังมีสูงอยู่ แม้ว่าเศรษฐกิจ สหรัฐ ไม่ได้ดีจน คนอยากได้ ดอลล่า ไปลงทุน ในบ้านเค้า หรือ ไปซื้อของบ้านเค้าสักเท่าไร แต่ดอลล่า ก็ยังเป็น ค่าเงินหลักที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ
แล้ว มันก็จะมีวิธีการทางเศรษฐศาสตร ในการคำนวณ อัตรา แลกเปลี่ยน ระหว่างแต่ละ ค่าเงินอยุ่ ว่า แต่ละ สกุลเงิน ทำไม มันต้อง แลกกันเท่านี้ ทำไม ไม่เป็นเท่านั้น ซึ่ง มันมีปัจจัย เยอะมากกกกก ในการคิด และไม่สามารถที่จะแบบ ประเทศ ชั้นอยากใช้เท่านี้นะ ชั้นจะใช้เท่านี้ ใครจะทำไม มันไม่ได้ มันจะมีความน่าเชื่อถือ ของค่าเงินด้วย โน่นนี่นั่น ทั้งพวก ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการชำระเงิน บลาๆๆๆๆ
ซึ่งบอกตรงๆว่า เกินปัญญา ของเรา จะอธิบาย ให้คนอื่นเข้าใจได้ เพราะเราก็ อ่อน คำนวณมากและลืมไปหมดแล้วด้วยยยย
ก็เอาเป็นว่า พยายาม ให้เห็นภาพ กว้างๆว่า อะไรยังงัย ทำไม ค่าเงินขึ้นลงได้ ทำไม แต่ละประเทศ ค่าเงินต่างกัน
ซึ่งต้องออกตัวว่า มันอาจจะไม่ถูกเป๊ะๆที่เราอธิบาย เพราะ จบมาก็นานมากกกแล้ว และไม่ได้ ทำงานสายนี้ด้วย
หากใครเห็นตรงไหนผิด ก็ เม้น แก้ได้เลยนะค่ะ คนอื่นจะได้เข้าใจกันถูกต้องด้วยค่ะ
ความคิดเห็นที่ 10
ไม่ได้จบเศรษฐศาตร์ แต่จะอธิบายตามความเข้าใจของผมนะครับ
คำถามของเจ้ากระทู้คือ ทำไมคนที่ทำงานอยู่ที่อเมริกา ทำงานล้างจานได้เงินวันละ 100 ดอล (3000 บาท)
แต่ทำไมคนที่ทำงานล้างจานในไทย ได้เงินวันละ 300 บาท ดังนั้นเวลาคนที่ล้างจานที่อเมริกา มาเที่ยวในไทยจึงดูรวยและมีกำลังซื้อมากกว่า
คำถามก็เลยถามว่า ทำไมโลกนี้มันไม่ยุติธรรมเลย ใครเป็นผู้กำหนดค่าเงิน
คำตอบคือ Demand Supply เป็นตัวกำหนดครับ
คำว่า Demand Supply มันรวมไปถึง สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรของประเทศนั้นๆ ภัยธรรมชาติ เศรษฐกิจ การเมือง และความรู้พื้นฐานของคนในประเทศนั้นๆ เป็นตัวกำหนดราคาค่าเงินครับ
ทีนี้ลองคิดตามดูครับ
ถ้าคนในอเมริกา จ้างคนล้างจานในอัตราวันละ 10 ดอล (300 บาท) ใครจะยอมไปล้างจานให้เพราะค่าแรง 1 วันได้อาหารเพียง 1 จานเท่านั้น
เมื่อราคานี้ จ้างแล้วไม่มีใครยอมทำ สุดท้ายราคาก็ต้องสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกว่าจะมีคนยอมทำ
และในเมื่อค่าครองชีพสูง อาหารแพง ทำให้คนระดับล่างต้องถูกจ้างในราคาสูง เมื่อแรงงานพื้นฐานราคาสูง ก็เป็นผลทำให้ค่าครองชีพและอาหารแพงขึ้นไปอีกจนกว่าจะถึงจุดสมดุล (เหมือนค่าแรงในไทย ใช่ว่าอยู่ๆคุณจะขึ้นค่าแรง 500 บาท 1000 บาทต่อวันได้เอง)
แต่ในโลกนี้ไม่ได้มีอเมริกาประเทศเดียว เมื่อค่าแรงสูงขึ้นถึงระดับหนึ่ง แรงงานที่อยู่ประเทศอื่นก็จะไหลเข้าไปในประเทศอเมริกาเอง เป็นกลไกตลาด ดังนั้นคำถามคือ ถ้าโลกนี้แรงงานสามารถฟรีเทรดไปได้หมดทุกที่ ไม่มีกฎหมายมาขวางกั้น แรงงานที่อเมริกาจะสูงกว่าประเทศไทยหรือไม่?
เมื่อคนแห่ไปที่อเมริกากันหมด ประชากรต่อพื้นที่อยู่อาศัยก็จะมากขึ้น คนก็จะแก่งแย่งที่อยู่มากขึ้น ราคาที่ดินก็จะแพง บ้านก็จะราคาแพง ทรัพยากรเช่นไฟฟ้า ประปา ก็จะแพง สุดท้ายอาหารก็จะถูกแย่งกันก็จะแพง เมื่อทุกอย่างแพง ค่าครองชีพก็จะแพงขึ้น สุดท้ายค่าจ้างราคาเดิม แต่ค่าครองชีพแพงขึ้น จ้าง 100 ดอล แต่กลับซื้อข้าวได้แค่ 1 จาน คนก็อยู่ไม่ได้ ในเมื่ออยู่ประเทศตัวเองได้เงิน 300 บาทแต่ซื้อข้าวได้ 10 จาน แรงงานก็จะไหลกลับไปยังแหล่งที่มาของตัวเอง หรือต่อให้ค่าครองชีพไม่สูงขึ้นแต่นายจ้างมีตัวเลือกมากขึ้น ก็ทำให้จ้างได้ในอัตราที่ถูกลง จนสุดท้ายคนในอเมริกาก็จ้างคนล้างจานในอัตรา 10 ดอล สุดท้ายก็คือซื้อข้าวได้แค่ 1 จาน คนก็อยู่ไม่ได้เหมือนข้างต้น ดังนั้นปัญหาคืออะไรคือ การศึกษานั่นเอง
เพราะคงไม่มีใครยอมจ้างคนล้างจานแพงกว่าวิศวกรหรอกครับ เว้นแต่ในประเทศนั้นใครๆก็จบวิศวกรจนล้นตลาด จนวิศวกรตกงานจนราคาตกต่ำกว่าแรงงานทั่วไป สุดท้ายวิศวกรก็จะยอมไปล้างจานแทน มันก็คือกลไกตลาด Demand Supply อีกเช่นกัน
การศึกษาพื้นฐานของประเทศ ก็เป็นอีกตัวที่กำหนดค่าเงินของประเทศนั้นๆ ถ้าประเทศนั้นคนเฉลี่ยมีความรู้เยอะ สามารถผลิตสินค้าใหม่ๆ นวัตกรรมใหม่ๆขึ้นมาเองได้ ประเทศนั้นก็จะส่งออกของในราคาแพงที่ประเทศอื่นยอมจ่ายได้ มันก็เลยทำให้คนในประเทศนั้นกินอยู่อย่างสบาย
เหมือนคุณใช้แรงงาน 1000 แรงผลิตรถยนต์ไปขายได้ 1 ล้านบาท แต่อีกประเทศหนึ่งผลิตไม่เป็นเลยต้องผลิตขาวไปขาย 1000 แรงได้ข้าวมูลค่า 1 แสนบาท ประเทศเค้าก็เอารถยนต์มาขายเรา เราก็เอาข้าวไปขายเค้า มันก็เลยเป็นเหตุผลให้ประเทศเค้าค่าแรงสูงกว่าเรา 10 เท่า
การเมือง ประเทศที่การเมืองนิ่งสงบ กับประเทศที่การเมืองไม่นิ่ง คนที่ทำการผลิต ประเทศไหนสามารถผลิตของที่มีคุณภาพมีราคาได้มากกว่ากันก็ลองคิดดู ไหนจะเรื่องนโยบายที่รัฐช่วยสนับสนุน หากนโยบายรัฐเอาไปผลาญ ประเทศชาติก็สูญเสีย แล้วค่าแรงเราจะไปสูงเทียบกันคนอื่นได้อย่างไร
ทรัพยาการ คำว่าทรัพยากรผมหมายถึงทุกอย่าง เช่นประเทศที่เหมาะแก่การปลูกข้าว ทำสวน ทำนา มีทอง มีน้ำมัน คนในประเทศเค้าก็สามารถขุดทอง หาน้ำมัน ไปขายประเทศอื่น ก็เลยทำให้ค่าเงินของประเทศเค้าสูงกว่าเรา (อันนี้สรุปแบบสั้น ที่เหลือไปคิดต่อกันเองครับ) ส่วนคำถามที่ว่าทำไมทอง ทำไมน้ำมัน แพงกว่าข้าว คำตอบก็คือ Demand Supply อีกนั่นแหละครับ ขอไม่อธิบายต่อครับจะยาวไป
สรุปสั้นๆ คำตอบสำหรับผม ว่าทำไมค่าเงินของแต่ละประเทศไม่เท่ากันเป็นเพราะ
Demand Supply ของ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรของประเทศนั้นๆ ภัยธรรมชาติ เศรษฐกิจ การเมือง และความรู้พื้นฐานของคนในประเทศนั้นๆ และอื่นๆอีกมากมาย เป็นตัวกำหนดราคาค่าเงินครับ
คำถามของเจ้ากระทู้คือ ทำไมคนที่ทำงานอยู่ที่อเมริกา ทำงานล้างจานได้เงินวันละ 100 ดอล (3000 บาท)
แต่ทำไมคนที่ทำงานล้างจานในไทย ได้เงินวันละ 300 บาท ดังนั้นเวลาคนที่ล้างจานที่อเมริกา มาเที่ยวในไทยจึงดูรวยและมีกำลังซื้อมากกว่า
คำถามก็เลยถามว่า ทำไมโลกนี้มันไม่ยุติธรรมเลย ใครเป็นผู้กำหนดค่าเงิน
คำตอบคือ Demand Supply เป็นตัวกำหนดครับ
คำว่า Demand Supply มันรวมไปถึง สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรของประเทศนั้นๆ ภัยธรรมชาติ เศรษฐกิจ การเมือง และความรู้พื้นฐานของคนในประเทศนั้นๆ เป็นตัวกำหนดราคาค่าเงินครับ
ทีนี้ลองคิดตามดูครับ
ถ้าคนในอเมริกา จ้างคนล้างจานในอัตราวันละ 10 ดอล (300 บาท) ใครจะยอมไปล้างจานให้เพราะค่าแรง 1 วันได้อาหารเพียง 1 จานเท่านั้น
เมื่อราคานี้ จ้างแล้วไม่มีใครยอมทำ สุดท้ายราคาก็ต้องสูงขึ้นเรื่อยๆ จนกว่าจะมีคนยอมทำ
และในเมื่อค่าครองชีพสูง อาหารแพง ทำให้คนระดับล่างต้องถูกจ้างในราคาสูง เมื่อแรงงานพื้นฐานราคาสูง ก็เป็นผลทำให้ค่าครองชีพและอาหารแพงขึ้นไปอีกจนกว่าจะถึงจุดสมดุล (เหมือนค่าแรงในไทย ใช่ว่าอยู่ๆคุณจะขึ้นค่าแรง 500 บาท 1000 บาทต่อวันได้เอง)
แต่ในโลกนี้ไม่ได้มีอเมริกาประเทศเดียว เมื่อค่าแรงสูงขึ้นถึงระดับหนึ่ง แรงงานที่อยู่ประเทศอื่นก็จะไหลเข้าไปในประเทศอเมริกาเอง เป็นกลไกตลาด ดังนั้นคำถามคือ ถ้าโลกนี้แรงงานสามารถฟรีเทรดไปได้หมดทุกที่ ไม่มีกฎหมายมาขวางกั้น แรงงานที่อเมริกาจะสูงกว่าประเทศไทยหรือไม่?
เมื่อคนแห่ไปที่อเมริกากันหมด ประชากรต่อพื้นที่อยู่อาศัยก็จะมากขึ้น คนก็จะแก่งแย่งที่อยู่มากขึ้น ราคาที่ดินก็จะแพง บ้านก็จะราคาแพง ทรัพยากรเช่นไฟฟ้า ประปา ก็จะแพง สุดท้ายอาหารก็จะถูกแย่งกันก็จะแพง เมื่อทุกอย่างแพง ค่าครองชีพก็จะแพงขึ้น สุดท้ายค่าจ้างราคาเดิม แต่ค่าครองชีพแพงขึ้น จ้าง 100 ดอล แต่กลับซื้อข้าวได้แค่ 1 จาน คนก็อยู่ไม่ได้ ในเมื่ออยู่ประเทศตัวเองได้เงิน 300 บาทแต่ซื้อข้าวได้ 10 จาน แรงงานก็จะไหลกลับไปยังแหล่งที่มาของตัวเอง หรือต่อให้ค่าครองชีพไม่สูงขึ้นแต่นายจ้างมีตัวเลือกมากขึ้น ก็ทำให้จ้างได้ในอัตราที่ถูกลง จนสุดท้ายคนในอเมริกาก็จ้างคนล้างจานในอัตรา 10 ดอล สุดท้ายก็คือซื้อข้าวได้แค่ 1 จาน คนก็อยู่ไม่ได้เหมือนข้างต้น ดังนั้นปัญหาคืออะไรคือ การศึกษานั่นเอง
เพราะคงไม่มีใครยอมจ้างคนล้างจานแพงกว่าวิศวกรหรอกครับ เว้นแต่ในประเทศนั้นใครๆก็จบวิศวกรจนล้นตลาด จนวิศวกรตกงานจนราคาตกต่ำกว่าแรงงานทั่วไป สุดท้ายวิศวกรก็จะยอมไปล้างจานแทน มันก็คือกลไกตลาด Demand Supply อีกเช่นกัน
การศึกษาพื้นฐานของประเทศ ก็เป็นอีกตัวที่กำหนดค่าเงินของประเทศนั้นๆ ถ้าประเทศนั้นคนเฉลี่ยมีความรู้เยอะ สามารถผลิตสินค้าใหม่ๆ นวัตกรรมใหม่ๆขึ้นมาเองได้ ประเทศนั้นก็จะส่งออกของในราคาแพงที่ประเทศอื่นยอมจ่ายได้ มันก็เลยทำให้คนในประเทศนั้นกินอยู่อย่างสบาย
เหมือนคุณใช้แรงงาน 1000 แรงผลิตรถยนต์ไปขายได้ 1 ล้านบาท แต่อีกประเทศหนึ่งผลิตไม่เป็นเลยต้องผลิตขาวไปขาย 1000 แรงได้ข้าวมูลค่า 1 แสนบาท ประเทศเค้าก็เอารถยนต์มาขายเรา เราก็เอาข้าวไปขายเค้า มันก็เลยเป็นเหตุผลให้ประเทศเค้าค่าแรงสูงกว่าเรา 10 เท่า
การเมือง ประเทศที่การเมืองนิ่งสงบ กับประเทศที่การเมืองไม่นิ่ง คนที่ทำการผลิต ประเทศไหนสามารถผลิตของที่มีคุณภาพมีราคาได้มากกว่ากันก็ลองคิดดู ไหนจะเรื่องนโยบายที่รัฐช่วยสนับสนุน หากนโยบายรัฐเอาไปผลาญ ประเทศชาติก็สูญเสีย แล้วค่าแรงเราจะไปสูงเทียบกันคนอื่นได้อย่างไร
ทรัพยาการ คำว่าทรัพยากรผมหมายถึงทุกอย่าง เช่นประเทศที่เหมาะแก่การปลูกข้าว ทำสวน ทำนา มีทอง มีน้ำมัน คนในประเทศเค้าก็สามารถขุดทอง หาน้ำมัน ไปขายประเทศอื่น ก็เลยทำให้ค่าเงินของประเทศเค้าสูงกว่าเรา (อันนี้สรุปแบบสั้น ที่เหลือไปคิดต่อกันเองครับ) ส่วนคำถามที่ว่าทำไมทอง ทำไมน้ำมัน แพงกว่าข้าว คำตอบก็คือ Demand Supply อีกนั่นแหละครับ ขอไม่อธิบายต่อครับจะยาวไป
สรุปสั้นๆ คำตอบสำหรับผม ว่าทำไมค่าเงินของแต่ละประเทศไม่เท่ากันเป็นเพราะ
Demand Supply ของ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรของประเทศนั้นๆ ภัยธรรมชาติ เศรษฐกิจ การเมือง และความรู้พื้นฐานของคนในประเทศนั้นๆ และอื่นๆอีกมากมาย เป็นตัวกำหนดราคาค่าเงินครับ
ความคิดเห็นที่ 8
ที่ฝรั่งเค้ารวยเพราะเค้าขายของที่มีมูลค่าสูงกว่าเราค่ะ อย่างเช่นทำมือถือมาขายอันนึง ซื้อข้าวเราได้สองเกวียน
ถ้าเราจะบอกว่าไม่ยอม ข้าวเรามันต้องมูลค่าสูงกว่านี้สิ เค้าก็แค่ไปซื้อข้าวประเทศอื่น แล้วเราจะซวยหนักกว่าเก่า
ถ้าเราจะบอกงั้นไม่ซื้อมือถือเค้าก็ได้ เค้าก็มีของอย่างอื่นที่เราต้องซื้อเค้าอยู่ดี อย่างยา หรือซอฟท์แวร์
ถ้าอยากจะทำงานแป๊บเดียวไปเที่ยวประเทศเค้าได้เป็นปีบ้าง ก็ผลิตของใช้เองให้ได้ หรือผลิตแพงๆส่งออกไปขายเค้าให้ได้
แบบเกาหลีใต้ไงคะ ขายเกมออนไลน์ ขายเครื่องใช้ไฟฟ้า ขายละคร ขายดาราและสารพัดสิ่ง ทำเองใช้เองด้วยขายด้วย แป๊บเดียวรวยเลย
ถ้าเราจะบอกว่าไม่ยอม ข้าวเรามันต้องมูลค่าสูงกว่านี้สิ เค้าก็แค่ไปซื้อข้าวประเทศอื่น แล้วเราจะซวยหนักกว่าเก่า
ถ้าเราจะบอกงั้นไม่ซื้อมือถือเค้าก็ได้ เค้าก็มีของอย่างอื่นที่เราต้องซื้อเค้าอยู่ดี อย่างยา หรือซอฟท์แวร์
ถ้าอยากจะทำงานแป๊บเดียวไปเที่ยวประเทศเค้าได้เป็นปีบ้าง ก็ผลิตของใช้เองให้ได้ หรือผลิตแพงๆส่งออกไปขายเค้าให้ได้
แบบเกาหลีใต้ไงคะ ขายเกมออนไลน์ ขายเครื่องใช้ไฟฟ้า ขายละคร ขายดาราและสารพัดสิ่ง ทำเองใช้เองด้วยขายด้วย แป๊บเดียวรวยเลย
ความคิดเห็นที่ 1
labor intensive->ประเทศรับจ้างผลิต ค่าแรงถูก รายได้ต่ำ, รายได้ต่ำเพราะเขาจ่ายแค่ค่าผลิต
intellectual property-> ทรัพย์สินทางปัญญา brand สินค้าที่น่าเชื่อถือจะขายได้แพง
เพราะค่าแรงที่จ่ายไปถูก แต่ขายแพง ส่วนต่างก็จะอยู่ที่ประเทศที่ ออกแบบ ทำการตลาด สร้างกระแส ให้การศึกษาว่าของเขามันดี
แต่คิดไปเรื่อยๆ จริงๆ มันก็ดี แต่ดีไม่มากเท่าที่เขาบอกเรา กระเป๋าอะไรใบละเป็น แสน
แสนบาทเอามาซื้อ fino ได้ 2 คัน
ประเทศรับจ้างผลิตจึง แก้ปัญหาแบบนี้โดย copy มันซะเลย
คิดแล้วก็งงๆ แต่ประเทศที่มีทรัพย์สินทางปัญญามาก จะเป็นคนเขียนกฏ
และสร้างปัญหาให้ประเทศอื่นมาก เพราะมันต้องกินทรัพยากร ทั้งวัตถุดิบและแรงงาน ของประเทศนั้นๆไปด้วย เวลาย้ายฐานการผลิต
ค่าเงินจึงถูกกำหนดโดยการนำเข้าส่งออก ถ้าไม่ส่งออกสินค้า ไม่นำเข้าเครื่องจักร วัตถุดิบ ค่าเงินก็ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง
ซึ่งไม่จริง
ค่าเงินต้องเปลี่ยนไปมาเสมอ เพราะมีการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการ
วิธีวัดค่าเงิน จะวัดจากค่าครองชีพ ต่อรายได้ประชากร จะวัดง่ายที่สุด
intellectual property-> ทรัพย์สินทางปัญญา brand สินค้าที่น่าเชื่อถือจะขายได้แพง
เพราะค่าแรงที่จ่ายไปถูก แต่ขายแพง ส่วนต่างก็จะอยู่ที่ประเทศที่ ออกแบบ ทำการตลาด สร้างกระแส ให้การศึกษาว่าของเขามันดี
แต่คิดไปเรื่อยๆ จริงๆ มันก็ดี แต่ดีไม่มากเท่าที่เขาบอกเรา กระเป๋าอะไรใบละเป็น แสน
แสนบาทเอามาซื้อ fino ได้ 2 คัน
ประเทศรับจ้างผลิตจึง แก้ปัญหาแบบนี้โดย copy มันซะเลย
คิดแล้วก็งงๆ แต่ประเทศที่มีทรัพย์สินทางปัญญามาก จะเป็นคนเขียนกฏ
และสร้างปัญหาให้ประเทศอื่นมาก เพราะมันต้องกินทรัพยากร ทั้งวัตถุดิบและแรงงาน ของประเทศนั้นๆไปด้วย เวลาย้ายฐานการผลิต
ค่าเงินจึงถูกกำหนดโดยการนำเข้าส่งออก ถ้าไม่ส่งออกสินค้า ไม่นำเข้าเครื่องจักร วัตถุดิบ ค่าเงินก็ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลง
ซึ่งไม่จริง
ค่าเงินต้องเปลี่ยนไปมาเสมอ เพราะมีการแลกเปลี่ยนสินค้า บริการ
วิธีวัดค่าเงิน จะวัดจากค่าครองชีพ ต่อรายได้ประชากร จะวัดง่ายที่สุด
แสดงความคิดเห็น
สงสัยเรื่องค่าเงินค่ะ ทำไมสกุลเงินไทยถึงมีค่าน้อยกว่าเงินหลายสกุลคะ แล้วมันวัดกันจากตรงไหน
แต่เคยอ่านเจอว่าฝรั่งโดยเฉพาะยุโรปทำงานแค่แป๊บเดียว ถึงกับมาอยู่เมืองไทยได้เป็นปี จนกระทั่งไปอ่านเจอในบทความเรื่อง 25 สถานที่ท่องเที่ยวในโลกที่เราควรจะไปแล้วไปสะดุดกับ Bangkok บ้านเราค่ะว่า
"Bangkok is home to beautiful Buddhist temples and amazing nightlife. The value of the dollar makes this incredible city a relatively cheap place to travel."
เคยเรียนเศรษฐศาสตร์มานะคะ แต่ยังไม่เข้าใจ
คือเราไม่ค่อยเข้าใจเรื่องระบบเงินหรืออัตราการเลือกเปลี่ยน การเงินอะไรแบบนี้
งั้นขอถามตามประสาชาวบ้านหรือเด็กน้อยตาดำๆคำหนึ่ง (อิอิ) เลยแล้วกันค่ะ
แล้วค่าเงินนี่วัดจากอะไรคะ ทองคำรึเปล่า?
แล้วเขากำหนดขึ้นมาได้ยังไงว่าเงินไทยเท่านี้เท่ากับดอลล่าร์สหรัฐเท่านี้
อยากรู้คำตอบแบบภาษาง่ายๆค่ะ อันนี้สงสัยจริงๆ แหะๆ
เข้ามาอีกทีกระทู้เราไปอยู่หน้าแรก ppantip.com ซะแล้ว
ขอบคุณทุกคนมากๆนะคะที่มาตอบข้อสงสัยให้กับเรา
เชื่อว่า มีหลายคนค่ะ ที่สงสัยแบบเรา อีกหน่อยเปิด AEC สังคมเปิดกวางมากขึ้น มีการติดต่อสื่อสารไม่เฉพาะแค่ใน AEC โลกไร้พรมแดนมากขึ้น การเชื่อมต่อกันมันก็จะมากขึ้น เรื่องอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรานี้ จะเป็นเรื่องใกล้ตัวเรามากขึ้นค่ะ
ขอบคุณทุกคนจริงๆนะคะ ได้ความรู้เยอะจริงๆค่ะ