คือผมสอบตกภาษาไทยอะครับขาด 3 คะแนนผมเลยต้องทำข้อสอบใหม่ให้ถูกทุกข้ออะครับเลยจะให้พวกพี่ๆ ช่วยกันหน่อยอะครับขอบคุณล่วงหน้าครับมี 60 ข้อใครว่างๆก็ช่วยทำได้ครับ
โจทย์
1.คำสมาสและคำสนธิจะเกิดขึ้นเฉพาะคำในภาษาใดกับภาษาใดเท่านั้น
ก.คำภาษไทยกับคำภาษาไทย
ข.คำภาษาไทยกับคำภาษาบาลี
ค.คำภาษบาลีกับคำภาษาสันสกฤต
ง.คำภาษาไทยกับคำภาษาใดก็ได้ที่ ๒ พยางค์ขึ้นไป
2.ข้อใดเป้นคำสมาส
ก.มหรรณพ ข.มัคคุเทศก์
ค.อิสรภาพ ง.พุทโธวาท
3.ข้อใดเป็นคำสมาสทั้งหมด
ก.ศิลปกรรม หวานเย็น
ข.ราชการ พุทธศาสนา
ค.กันสาด ราชกุมาร
ง.เห็นอกเห็นใจ มิดีมิร้าย
4.ข้อใด้เป็นคำสมาสทั้งสองคำ
ก.สันติธรรม วิทยาเขต
ข.ราชูปถัมภ์ สุนทราภรณ์
ค.วีรสตรี เสรีภาพ
ง.นิติบุคคล ธนานุเคราะห์
5.ข้อใดเป็นคำสมาสทุกคำ
ก.สุขภัณฑ์ อัคคีภัย พลศึกษา
ข.อิสรภาพ โกสินทร์ สังหรณ์
ค.สัญจร ภูมิปัญญา ปัญญาชน
ง.บ้านเมือง วิชาการ ภาษาไทย
6.ข้อใดไม่มีคำสมาส
ก.ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน
ข.บ้านเมืองสะอาด ประชาชาติปลอดโปร่ง
ค.การท่องเที่ยวครั้งนี้มีมัคคุเทศก์ จำนวน 3 คน
ง.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรียนวิชาพลศึกษา
7.ข้อใดมีคำสมาสอยู่ในข้อความ
ก.นักเรียนไปเที่ยวชมอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
ข.ลูกชายฉันเรียนอยู่ที่เกษรตรศาสตร์
ค.ศูนย์ศิลปาชีพน้ำท่วม
ง.เขาเป็นคนรักความสันโดษ
8.คำสนธิ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก.คำสนธิไม่มีมูล ข.คำสมาสที่ไม่มีสนธิ
ค.คำสมาสที่มีสนธิ ง.คำสมาส
9.ข้อใดเป็นคำสมาสที่มีสนธิ
ก.อุบัติเหตุ ข.วาทศิลป์
ค.ธุรกิจ ง.ชโลทร
10.ข้อใดเป็นคำสมาสที่ไม่มีสนธิ
ก.ราชาธิราช ข.สัมมนา
ค.ธนบัตร ง.เดชานุภาพ
11.คำสมาสที่มีสนธิข้อใด้ไม่ถูกต้อง
ก.ภัตต+อาหาร = ภัตตาหาร
ข.ราช+โอวาท = ราโชวาท
ค.มหา+อัศจรรย์ = มหัศจรรย์
ง.ราช + อุปถัมภ์ = ราโชปถัมภ์
12.ข้อใดเป็นคำสนธิทั้งสองคำ
ก.มเหสี เอกภาพ
ข.วัฒนธรรม ธุรกิจ
ค.มโนรมย์ กิจกรรม
ง.จุฬาลงกรณ์ ธันวาคม
13.ข้อใดเป็นสระสนธิ
ก.วิทยาลัย ข.มโหฬาร
ค.ทรชน ง.สมบัติ
14.ข้อใดเป็นสระสนธิ
ก.นโยบาย ข.ทรัพยากร
ค.มโนคติ ง.นรินทร์
15.ข้อใดเป้นนิคหิตสนธิ
ก.มเหสี ข.อัธยาศัย
ค.มโนกรรม ง.สันนิบาต
16.คำในข้อเป็นคำสนธิ
ก.สารคดี ข.เสรีภาพ
ค.สุริโยทัย ง.วีรสตรี
17.คำว่า ราชินี สนธิกับ อนุสรณ์ ได้เป็นคำว่าอย่างไร
ก.ราชินีสรณ์ ข.ราชินยานุสรณ์
ค.ราชินรานุสรณ์ ง.ราชินานุสรณ์
18.คำว่า มหา+อุฬาร เป็นคำว่าอย่างไร
ก.มโหฬาร ข.มเหฬาร
ค.มหาฬาร ง.มเหาฬาร
19.คำว่า คมนาคม แยกสนธิได้อย่างไร
ก.คมน+คม ข.คมน+อคม
ค.คมนา+อคม ง.คมน+อาคม
20.ข้อใดมีลักษณะเหมือนคำว่า ราโชวาท
ก.วัฒนธรรม พลศึกษา ข.ธุรการ พุทธคุณ
ค.มโหฬาร สุโขทัย ง.ครุภัณฑ์ มเหสี
21.โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระองค์ใด
ก.พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ข.พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ค.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ง.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
22.ภาษิตหมวดใดส่งเสรืมให้มีจิตใจบริสุทธิ์ (โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์)
ก.สามสิ่งควรเคารพ ข.สามสิ่งควรนับถือ
ค.สามสิ่งควรอ้อนวอน ง.สามสิ่งควรปรารถนา
23.โคลงสุภาษิต โสฬสไตรยางค์แต่งคำประพันธ์ประเภทใด
ก.โคลงสองสุภาพ ข.โคลงสามสุภาพ
ค.โคลงสี่สุภาพ ง.โคลงกระทู้
24.คำว่า สุภาษิต หมายถึงข้อใดเป็นสำคัญ
ก.ถ้อยคำที่เป็นคติข้อคิด
ข.ถ้อยคำที่กล่าวถึงนามธรรม
ค.ถ้อยคำที่มีความหมายชัดเจน
ง.ถ้อยคำที่ไพเราะเสนาะเสียง
25.คำว่า โสฬสไตรยางค์ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก.ธรรมะสิบหกข้อ
ข.สุภาษิตสามหมวด
ค.สุภาษิตสามสิบสองประการ
ง.สุภาษิตสิบหกหมวด หมวดละสามประการ
26.สามสิ่งที่ควรนันถือคือข้อใด
ก.ปัญญา ฉลาด มั่นคง
ข.ปัญญา เกียรติยศ มารยาทดี
ค.หนังสือดีดี เพื่อนดี ใจเย็นดี
ง.ความดุร้าย ความหยิ่งกำเริบ อกตัญญู
27.พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้ ตรงกับข้อใด
ก.รู้หน้าไม่รู้ใจ
ข.น้ำนิ่งไหลลึก
ค.น้ำใสใจจริง
ง.ปากหวานก้นเปรี้ยว
28.ศรัทธาทำจิตหมั้น คงตรง ข้อความนี้หมายถึงข้อดี
ก.ความสงบ ข.ความเชื่อถือ
ค.ความยุติธรรม ง.ใจบริสุทธิ์
29.คำใดมีความหมายว่าริษยา
ก.มารยาท ข.หึงจิต
ค.เสี่ยมสาน ง.โทสาคติ
30.สามสิ่งควรรักน้อม จิตให้สนิทจริง ข้อความนี้หมายถึงเรื่องใด
ก.ปัญญา ฉลาด มั่นคง
ข.หนังสือดี เพื่อนดี ใจเย็นดี
ค.ความเชื่อถือ ความสงบ ใจบริสุทธิ์
ง.ความกล้า ความสุภาพ ความรักใคร่
31.ข้อใดเป็นพระราชประสงค์ในการพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
ก.ปราชญ์แสดงดำริด้วย ไตรยางค์
ข.โสฬสหมดหมวดปาง ก่อนอ้าง
ค.เป็นมาติกาทาง บัณฑิตแสวงเฮย
ง.หวังสวัสดิ์ขจัดทุกข์สร้าง สืบสร้องศุภผล
32.ภาษิตหมวดใดกล่าวถึงมิตรสหายที่ดี
ก.สามสิ่งควรยินดี
ข.สามสิ่งควรเคารพ
ค.สามสิ่งควรปรารถนา
ง.สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน
33.สุภาษิตในข้อใดที่สอนเกี่ยวกับเรื่องการการวางตัวในสังคม
ก.สุวภาพพจน์ภายใจ จิตพร้อม
ข.ศาสนาสอนสั่งให้ ประพฤติดี
ค.หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่า ตัวแฮ
ง.มารยาทเรียบเสี่ยมสาร เสงี่ยมเงื่อน งามนอ
34.สุขกายวายโรคร้อน รำคาญ
มากเพื่อนผู้วานการ ชีพได้
จิตแผ้วผ่องสำราญ รมยสุข เกษมแฮ
คำประพันธ์ข้างต้นนี้กล่าวถึงข้อใด
ก.สามสิ่งควรปราถนา ข.สามสิ่งควรจะชอบ
ค.สามสิ่งควรอ้อนวอนขอ ง.สามสิ่งควรยินดี
35.จากคำตอบข้อ 34 สามสิ่ง นั้นได้แก่ข้อใด
ก.ความเชื่อถือ ความสงบ ใจบิสุทธิ์
ข.ความกล่า ความสุภาพ ความรักใคร่
ค.ใจอารี ใจดี ความสนุกเบิกบานพร้อมเพรียง
ง.ความสุขสบาย มิตรสหายที่ดีดี ใจสบายปรุโปร่ง
36.คำว่า นฤทุมนาการ หมายถึง
ก.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติต้องเสียใจ
ข.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติไม่อาจลืมได้
ค.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ
ง.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติไม่ต้องเสียใจ
37.โคลงสุภาษิต นฤทุมนาการ เป็นวรรณคดีประเภทใด
ก.คำสอน ข.ปลุกใจ
ค.ส่งเสริมขวัญ ง.โน้มน้าวใจ
38.ข้อใดมีความสำคัญมากที่สุด
ก.คำสอน ข.ปลุกใจ
ค.ส่งเสริมขวัญ ง.โน้มน้าวใจ
39.โคลงสุภาษิต นฤทุมนาการ ข้อใดปฏิบัติได้ยากที่สุด
ก.การขอโทษ ข.ความอดทนอดกลั้น
ค.ไม่หลงเชื่อข่าวร้าย ง.ไม่ฟังคำพูดนินทา
40.ข้อใดคือการกระทำความดีต่อคนส่วนร่วม
ก.อดกลั้นต่อผู้อื่น
ข.อดพูดในเวลาโกรธ
ค.ไม่ฟังคำคนพูดนินทา
ง.ได้กรุณาต่อคนที่ถึงอีบจน
41.สุภาษิตในข้อใดที่จะทำให้ได้รับการให้อภัย
ก.เพราะ คิดเสียก่อนจึงพูด
ข.เพราะ อดพูดในเวลาโกรธ
ค.เพราะ ขอโทษบรรดาที่ได้ผิด
ง.เพราะ ไม่พูดร้ายต่อใครเลย
42.การปฏิบัติในข้อใดจะทำให้เป็นคนใจเย็น
ก.อดกลั้นต่อผู้อื่น ข.คิดเสียก่อนจึงพูด
ค.ไม่หลงเชื่อข่าวร้าย ง.งดพูดในเวลาโกรธ
43. ใครเกะกะระราน อดกลั้น
ควรใช้สำนวนใดเตือนใจสอดคล้องกับข้อความนี้
ก.กระต่ายตื่นตูม
ข.อดเปรี้ยวไว้กินหวาน
ค.อย่าเอาทองไปรู่กระเบื้อง
ง.อย่าเอามะพร้าวห้าวไปขายสวน
44. ยินคดีมีเรื่อน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
มีความโดเด่นในด้านการใช้ภาษาอย่างไร
ก.ใช้คำตรงข้ามกัน
ข.ใช่คำที่สื่ออารมณ์ได้ดี
ค.ใช้ศัพท์เฉพาะที่เข้าใจง่าย
ง.ใช้คำที่มีความหมายลึกซึ้ง
45.การปฏิบัติในข้อใดช่วยลดทิฐิมานะลง
ก.ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
ข.เหินห่างโมหะร้อน ริษยา
ค.สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ง.ขอโทษเพื่อคารวะ วายบาด หมางแฮ
46.ขันตีมีมากหมั้น สันดาน
ใครเกะกะระราน อดกลั้น
ไป่ฉุนเฉียวเฉกพาล พาเดือด ร้อนพ่อ
ผู้ประพฤติดั่งนั้น จักได้ใจเย็น
โคลงบทนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก.ขอโทษเมื่อตนทำผิด
ข.ความอดกลั้นต่อผู้อื่น
ค.งดการพูดในเวลาโกรธ
ง.ระงับความโกรธริษยาและคำพูดไม่ดี
47.ข้อใดสอดคล้องกับคติที่ว่า จงอย่าประมาท
ก.ฉลาดยิ่งสิ่งแยบคาย คาดรู้
ข.หนึ่งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้
ค.สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
ง.หนึ่งขาดปราศโทสา คติห่อใจเฮย
48.ข้อใดหมายถึงการคิดไตร่ตรองและวิจารณญาณ
ก.ปางเมื่อยังโกรธา ขุ่นแค้น
ข.ใครเกะกะระราน อดกลั้น
ค.สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ง.ฟังตอบขอบคำไข คิดใคร่ ครวญนา
49.พาทีมีสติรั้ง รอคิด
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
คำพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ
ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทั้งห่างภัย
ผู้ใดสมควรนำคำสอนข้อไปปฏิบัติมากที่สุด
ก.นักกีฬา
ข.ทหาร ตำรวจ
ค.นักธุรกิจ พ่อค้าแม่ค้า
ง.พิธีกร ผู้ประกาศทางโทรทัศน์
50.ในสังคมปัจจุบัน คนที่มีลักษณะเช่นใดน่ากลัวที่สุด
ก.โฉดช้าอุตส่าห์หาญ ห่อนหยุด ยั้งเฮย
ข.ชาติกักขฬะดุร้าย สันดาน
ค.เชื้อวงศ์วายรักร้อย ริษยา กันเฮย
ง.อย่าคสรประมาทผู้ ทุรพล
51.นิทานอิสปทุกเรื่อง จะมีบทสรุปท้ายเรื่องเป็นคติสอนใจเพื่ออะไร
ก.เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน
ข.เพื่อให้จดจำตัวละครในเรื่องได้
ค.เพื่อให้เข้าใจเนื้อหานิทานมากขึ้น
ง.เพื่อให้ผู้อ่านได้พิจารณาคำสอนที่ได้จากเรื่องนั้นๆ
52.นิทานอีสปเป็นนิทานที่มาจากชาติใด
ก.โรมัน ข.กรีก
ค.อียิปต์ ง.อังกฤษ
53.ในวรรณคดีไทย นิทานอีสปปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรในสมัยใด
ก.รัชกาลที่ 3 ข.รัชกาลที่ 4
ค.รัชกาลที่ 5 ง.รัชกาลที่ 6
54.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอีสปไว้กี่เรื่อง
ก. 24 เรื่อง ข. 25 เรื่อง
ค. 26 เรื่อง ง. 27 เรื่อง
55.ข้อใดกล่าวถึงนิทานอีสปไม่ถูกต้อง
ก.นิทานอีสป เช่น เรื่องไก่กับพลอย ราชสีห์กับหนู
ข.อิศปปกรณำ ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ค.ในตอนท้ายของเรื่องทุกเรื่องจะมีบทสรุปเป็นคติสอนใจแก่ผู้อ่าน
ง.ในรัชกาลที่ 6 มีการแปลและเรียบเรียงนิทานอีสปเพื่อนใช้เป็นแบบสอนอ่าน
56.นิทานอีสปเรื่องกระต่ายกับเต่าให้ข้อคิดอะไรแก่ผู้อ่าน
ก.คนเราไม่ควรลืมตัว
ข.ไม่ควรไว้ใจระยะทาง
ค.อย่าดูถูกความสามารถของผู้อื่น
ง.จงอย่าประมาทอาจพลาดพลั้งได้
57. อย่าควรประมาทผู้ ทุรพล
สบเคราะห์คราวขัดสน สุดรู้
เกลือกเขาสบร้ายดล ใดเหตุ มีแฮ
มากพวกคงมีผู้ ระลึกเค้าคุณสนอง
คำประพันธ์ข้างต้นนี้เกี่ยวข้องกับสัตว์ข้อใด
ก.สุนัขกับลูกแกะ
ข.ราชสีห์กับหนู
ค.เต่ากับกระต่าย
ง.บิดากับบุตรทั้งหลาย
58.คำประพันธ์ในข้อ 57 เน้นคุณธรรมในข้อใด
ก.การตอบแทนบุญคุณ
ข.การให้ความรักต่อกัน
ค.ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ง.การมีความสามัคคี
59.นิทานอีสปเรื่องบิดากับบุตรทั้งหลายให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด
ก.พี่น้องต้องไม่ทะเลาะกัน
ข.พี่น้องต้องรักกัน สามัคคีปรองดองกัน
ค.พ่อตักเตือนอะไรผู้เป็นลูกต้องเชื่อฟัง
ง.ลูกที่ดีต้องให้ความเคารพรักบิดามารดา
60. ดุจไก่พบแก้วล้ำ หลีกแล้วเลยจร
โคลงบาทนี้ให้ข้อคิดตรงกับข้อใด
ก.คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด
ข.ของดีของมีค่าอยู่ที่ไหนก็ยังคงมีคุณค่า
ค.ผู้ที่ฉลาดย่อมรู้ว่าสิ่งใดมีประโยชน์แก่ตน
ง.ของดีของมีค่าย่อมมีประโยชน์แก่ผู้รู้จักใช้เท่านั้น
ท่านใดเก่งภาษาไทยมาช่วยหน่อยครับ
1.คำสมาสและคำสนธิจะเกิดขึ้นเฉพาะคำในภาษาใดกับภาษาใดเท่านั้น
ก.คำภาษไทยกับคำภาษาไทย
ข.คำภาษาไทยกับคำภาษาบาลี
ค.คำภาษบาลีกับคำภาษาสันสกฤต
ง.คำภาษาไทยกับคำภาษาใดก็ได้ที่ ๒ พยางค์ขึ้นไป
2.ข้อใดเป้นคำสมาส
ก.มหรรณพ ข.มัคคุเทศก์
ค.อิสรภาพ ง.พุทโธวาท
3.ข้อใดเป็นคำสมาสทั้งหมด
ก.ศิลปกรรม หวานเย็น
ข.ราชการ พุทธศาสนา
ค.กันสาด ราชกุมาร
ง.เห็นอกเห็นใจ มิดีมิร้าย
4.ข้อใด้เป็นคำสมาสทั้งสองคำ
ก.สันติธรรม วิทยาเขต
ข.ราชูปถัมภ์ สุนทราภรณ์
ค.วีรสตรี เสรีภาพ
ง.นิติบุคคล ธนานุเคราะห์
5.ข้อใดเป็นคำสมาสทุกคำ
ก.สุขภัณฑ์ อัคคีภัย พลศึกษา
ข.อิสรภาพ โกสินทร์ สังหรณ์
ค.สัญจร ภูมิปัญญา ปัญญาชน
ง.บ้านเมือง วิชาการ ภาษาไทย
6.ข้อใดไม่มีคำสมาส
ก.ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน
ข.บ้านเมืองสะอาด ประชาชาติปลอดโปร่ง
ค.การท่องเที่ยวครั้งนี้มีมัคคุเทศก์ จำนวน 3 คน
ง.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรียนวิชาพลศึกษา
7.ข้อใดมีคำสมาสอยู่ในข้อความ
ก.นักเรียนไปเที่ยวชมอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
ข.ลูกชายฉันเรียนอยู่ที่เกษรตรศาสตร์
ค.ศูนย์ศิลปาชีพน้ำท่วม
ง.เขาเป็นคนรักความสันโดษ
8.คำสนธิ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก.คำสนธิไม่มีมูล ข.คำสมาสที่ไม่มีสนธิ
ค.คำสมาสที่มีสนธิ ง.คำสมาส
9.ข้อใดเป็นคำสมาสที่มีสนธิ
ก.อุบัติเหตุ ข.วาทศิลป์
ค.ธุรกิจ ง.ชโลทร
10.ข้อใดเป็นคำสมาสที่ไม่มีสนธิ
ก.ราชาธิราช ข.สัมมนา
ค.ธนบัตร ง.เดชานุภาพ
11.คำสมาสที่มีสนธิข้อใด้ไม่ถูกต้อง
ก.ภัตต+อาหาร = ภัตตาหาร
ข.ราช+โอวาท = ราโชวาท
ค.มหา+อัศจรรย์ = มหัศจรรย์
ง.ราช + อุปถัมภ์ = ราโชปถัมภ์
12.ข้อใดเป็นคำสนธิทั้งสองคำ
ก.มเหสี เอกภาพ
ข.วัฒนธรรม ธุรกิจ
ค.มโนรมย์ กิจกรรม
ง.จุฬาลงกรณ์ ธันวาคม
13.ข้อใดเป็นสระสนธิ
ก.วิทยาลัย ข.มโหฬาร
ค.ทรชน ง.สมบัติ
14.ข้อใดเป็นสระสนธิ
ก.นโยบาย ข.ทรัพยากร
ค.มโนคติ ง.นรินทร์
15.ข้อใดเป้นนิคหิตสนธิ
ก.มเหสี ข.อัธยาศัย
ค.มโนกรรม ง.สันนิบาต
16.คำในข้อเป็นคำสนธิ
ก.สารคดี ข.เสรีภาพ
ค.สุริโยทัย ง.วีรสตรี
17.คำว่า ราชินี สนธิกับ อนุสรณ์ ได้เป็นคำว่าอย่างไร
ก.ราชินีสรณ์ ข.ราชินยานุสรณ์
ค.ราชินรานุสรณ์ ง.ราชินานุสรณ์
18.คำว่า มหา+อุฬาร เป็นคำว่าอย่างไร
ก.มโหฬาร ข.มเหฬาร
ค.มหาฬาร ง.มเหาฬาร
19.คำว่า คมนาคม แยกสนธิได้อย่างไร
ก.คมน+คม ข.คมน+อคม
ค.คมนา+อคม ง.คมน+อาคม
20.ข้อใดมีลักษณะเหมือนคำว่า ราโชวาท
ก.วัฒนธรรม พลศึกษา ข.ธุรการ พุทธคุณ
ค.มโหฬาร สุโขทัย ง.ครุภัณฑ์ มเหสี
21.โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์เป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระองค์ใด
ก.พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ข.พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ค.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ง.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
22.ภาษิตหมวดใดส่งเสรืมให้มีจิตใจบริสุทธิ์ (โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์)
ก.สามสิ่งควรเคารพ ข.สามสิ่งควรนับถือ
ค.สามสิ่งควรอ้อนวอน ง.สามสิ่งควรปรารถนา
23.โคลงสุภาษิต โสฬสไตรยางค์แต่งคำประพันธ์ประเภทใด
ก.โคลงสองสุภาพ ข.โคลงสามสุภาพ
ค.โคลงสี่สุภาพ ง.โคลงกระทู้
24.คำว่า สุภาษิต หมายถึงข้อใดเป็นสำคัญ
ก.ถ้อยคำที่เป็นคติข้อคิด
ข.ถ้อยคำที่กล่าวถึงนามธรรม
ค.ถ้อยคำที่มีความหมายชัดเจน
ง.ถ้อยคำที่ไพเราะเสนาะเสียง
25.คำว่า โสฬสไตรยางค์ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก.ธรรมะสิบหกข้อ
ข.สุภาษิตสามหมวด
ค.สุภาษิตสามสิบสองประการ
ง.สุภาษิตสิบหกหมวด หมวดละสามประการ
26.สามสิ่งที่ควรนันถือคือข้อใด
ก.ปัญญา ฉลาด มั่นคง
ข.ปัญญา เกียรติยศ มารยาทดี
ค.หนังสือดีดี เพื่อนดี ใจเย็นดี
ง.ความดุร้าย ความหยิ่งกำเริบ อกตัญญู
27.พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้ ตรงกับข้อใด
ก.รู้หน้าไม่รู้ใจ
ข.น้ำนิ่งไหลลึก
ค.น้ำใสใจจริง
ง.ปากหวานก้นเปรี้ยว
28.ศรัทธาทำจิตหมั้น คงตรง ข้อความนี้หมายถึงข้อดี
ก.ความสงบ ข.ความเชื่อถือ
ค.ความยุติธรรม ง.ใจบริสุทธิ์
29.คำใดมีความหมายว่าริษยา
ก.มารยาท ข.หึงจิต
ค.เสี่ยมสาน ง.โทสาคติ
30.สามสิ่งควรรักน้อม จิตให้สนิทจริง ข้อความนี้หมายถึงเรื่องใด
ก.ปัญญา ฉลาด มั่นคง
ข.หนังสือดี เพื่อนดี ใจเย็นดี
ค.ความเชื่อถือ ความสงบ ใจบริสุทธิ์
ง.ความกล้า ความสุภาพ ความรักใคร่
31.ข้อใดเป็นพระราชประสงค์ในการพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
ก.ปราชญ์แสดงดำริด้วย ไตรยางค์
ข.โสฬสหมดหมวดปาง ก่อนอ้าง
ค.เป็นมาติกาทาง บัณฑิตแสวงเฮย
ง.หวังสวัสดิ์ขจัดทุกข์สร้าง สืบสร้องศุภผล
32.ภาษิตหมวดใดกล่าวถึงมิตรสหายที่ดี
ก.สามสิ่งควรยินดี
ข.สามสิ่งควรเคารพ
ค.สามสิ่งควรปรารถนา
ง.สามสิ่งควรรังเกียจติเตียน
33.สุภาษิตในข้อใดที่สอนเกี่ยวกับเรื่องการการวางตัวในสังคม
ก.สุวภาพพจน์ภายใจ จิตพร้อม
ข.ศาสนาสอนสั่งให้ ประพฤติดี
ค.หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่า ตัวแฮ
ง.มารยาทเรียบเสี่ยมสาร เสงี่ยมเงื่อน งามนอ
34.สุขกายวายโรคร้อน รำคาญ
มากเพื่อนผู้วานการ ชีพได้
จิตแผ้วผ่องสำราญ รมยสุข เกษมแฮ
คำประพันธ์ข้างต้นนี้กล่าวถึงข้อใด
ก.สามสิ่งควรปราถนา ข.สามสิ่งควรจะชอบ
ค.สามสิ่งควรอ้อนวอนขอ ง.สามสิ่งควรยินดี
35.จากคำตอบข้อ 34 สามสิ่ง นั้นได้แก่ข้อใด
ก.ความเชื่อถือ ความสงบ ใจบิสุทธิ์
ข.ความกล่า ความสุภาพ ความรักใคร่
ค.ใจอารี ใจดี ความสนุกเบิกบานพร้อมเพรียง
ง.ความสุขสบาย มิตรสหายที่ดีดี ใจสบายปรุโปร่ง
36.คำว่า นฤทุมนาการ หมายถึง
ก.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติต้องเสียใจ
ข.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติไม่อาจลืมได้
ค.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ
ง.กิจ 10 ประการที่ผู้ประพฤติไม่ต้องเสียใจ
37.โคลงสุภาษิต นฤทุมนาการ เป็นวรรณคดีประเภทใด
ก.คำสอน ข.ปลุกใจ
ค.ส่งเสริมขวัญ ง.โน้มน้าวใจ
38.ข้อใดมีความสำคัญมากที่สุด
ก.คำสอน ข.ปลุกใจ
ค.ส่งเสริมขวัญ ง.โน้มน้าวใจ
39.โคลงสุภาษิต นฤทุมนาการ ข้อใดปฏิบัติได้ยากที่สุด
ก.การขอโทษ ข.ความอดทนอดกลั้น
ค.ไม่หลงเชื่อข่าวร้าย ง.ไม่ฟังคำพูดนินทา
40.ข้อใดคือการกระทำความดีต่อคนส่วนร่วม
ก.อดกลั้นต่อผู้อื่น
ข.อดพูดในเวลาโกรธ
ค.ไม่ฟังคำคนพูดนินทา
ง.ได้กรุณาต่อคนที่ถึงอีบจน
41.สุภาษิตในข้อใดที่จะทำให้ได้รับการให้อภัย
ก.เพราะ คิดเสียก่อนจึงพูด
ข.เพราะ อดพูดในเวลาโกรธ
ค.เพราะ ขอโทษบรรดาที่ได้ผิด
ง.เพราะ ไม่พูดร้ายต่อใครเลย
42.การปฏิบัติในข้อใดจะทำให้เป็นคนใจเย็น
ก.อดกลั้นต่อผู้อื่น ข.คิดเสียก่อนจึงพูด
ค.ไม่หลงเชื่อข่าวร้าย ง.งดพูดในเวลาโกรธ
43. ใครเกะกะระราน อดกลั้น
ควรใช้สำนวนใดเตือนใจสอดคล้องกับข้อความนี้
ก.กระต่ายตื่นตูม
ข.อดเปรี้ยวไว้กินหวาน
ค.อย่าเอาทองไปรู่กระเบื้อง
ง.อย่าเอามะพร้าวห้าวไปขายสวน
44. ยินคดีมีเรื่อน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
มีความโดเด่นในด้านการใช้ภาษาอย่างไร
ก.ใช้คำตรงข้ามกัน
ข.ใช่คำที่สื่ออารมณ์ได้ดี
ค.ใช้ศัพท์เฉพาะที่เข้าใจง่าย
ง.ใช้คำที่มีความหมายลึกซึ้ง
45.การปฏิบัติในข้อใดช่วยลดทิฐิมานะลง
ก.ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
ข.เหินห่างโมหะร้อน ริษยา
ค.สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ง.ขอโทษเพื่อคารวะ วายบาด หมางแฮ
46.ขันตีมีมากหมั้น สันดาน
ใครเกะกะระราน อดกลั้น
ไป่ฉุนเฉียวเฉกพาล พาเดือด ร้อนพ่อ
ผู้ประพฤติดั่งนั้น จักได้ใจเย็น
โคลงบทนี้มีความหมายตรงกับข้อใด
ก.ขอโทษเมื่อตนทำผิด
ข.ความอดกลั้นต่อผู้อื่น
ค.งดการพูดในเวลาโกรธ
ง.ระงับความโกรธริษยาและคำพูดไม่ดี
47.ข้อใดสอดคล้องกับคติที่ว่า จงอย่าประมาท
ก.ฉลาดยิ่งสิ่งแยบคาย คาดรู้
ข.หนึ่งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้
ค.สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
ง.หนึ่งขาดปราศโทสา คติห่อใจเฮย
48.ข้อใดหมายถึงการคิดไตร่ตรองและวิจารณญาณ
ก.ปางเมื่อยังโกรธา ขุ่นแค้น
ข.ใครเกะกะระราน อดกลั้น
ค.สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ง.ฟังตอบขอบคำไข คิดใคร่ ครวญนา
49.พาทีมีสติรั้ง รอคิด
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
คำพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ
ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทั้งห่างภัย
ผู้ใดสมควรนำคำสอนข้อไปปฏิบัติมากที่สุด
ก.นักกีฬา
ข.ทหาร ตำรวจ
ค.นักธุรกิจ พ่อค้าแม่ค้า
ง.พิธีกร ผู้ประกาศทางโทรทัศน์
50.ในสังคมปัจจุบัน คนที่มีลักษณะเช่นใดน่ากลัวที่สุด
ก.โฉดช้าอุตส่าห์หาญ ห่อนหยุด ยั้งเฮย
ข.ชาติกักขฬะดุร้าย สันดาน
ค.เชื้อวงศ์วายรักร้อย ริษยา กันเฮย
ง.อย่าคสรประมาทผู้ ทุรพล
51.นิทานอิสปทุกเรื่อง จะมีบทสรุปท้ายเรื่องเป็นคติสอนใจเพื่ออะไร
ก.เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน
ข.เพื่อให้จดจำตัวละครในเรื่องได้
ค.เพื่อให้เข้าใจเนื้อหานิทานมากขึ้น
ง.เพื่อให้ผู้อ่านได้พิจารณาคำสอนที่ได้จากเรื่องนั้นๆ
52.นิทานอีสปเป็นนิทานที่มาจากชาติใด
ก.โรมัน ข.กรีก
ค.อียิปต์ ง.อังกฤษ
53.ในวรรณคดีไทย นิทานอีสปปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรในสมัยใด
ก.รัชกาลที่ 3 ข.รัชกาลที่ 4
ค.รัชกาลที่ 5 ง.รัชกาลที่ 6
54.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชนิพนธ์แปลนิทานอีสปไว้กี่เรื่อง
ก. 24 เรื่อง ข. 25 เรื่อง
ค. 26 เรื่อง ง. 27 เรื่อง
55.ข้อใดกล่าวถึงนิทานอีสปไม่ถูกต้อง
ก.นิทานอีสป เช่น เรื่องไก่กับพลอย ราชสีห์กับหนู
ข.อิศปปกรณำ ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ค.ในตอนท้ายของเรื่องทุกเรื่องจะมีบทสรุปเป็นคติสอนใจแก่ผู้อ่าน
ง.ในรัชกาลที่ 6 มีการแปลและเรียบเรียงนิทานอีสปเพื่อนใช้เป็นแบบสอนอ่าน
56.นิทานอีสปเรื่องกระต่ายกับเต่าให้ข้อคิดอะไรแก่ผู้อ่าน
ก.คนเราไม่ควรลืมตัว
ข.ไม่ควรไว้ใจระยะทาง
ค.อย่าดูถูกความสามารถของผู้อื่น
ง.จงอย่าประมาทอาจพลาดพลั้งได้
57. อย่าควรประมาทผู้ ทุรพล
สบเคราะห์คราวขัดสน สุดรู้
เกลือกเขาสบร้ายดล ใดเหตุ มีแฮ
มากพวกคงมีผู้ ระลึกเค้าคุณสนอง
คำประพันธ์ข้างต้นนี้เกี่ยวข้องกับสัตว์ข้อใด
ก.สุนัขกับลูกแกะ
ข.ราชสีห์กับหนู
ค.เต่ากับกระต่าย
ง.บิดากับบุตรทั้งหลาย
58.คำประพันธ์ในข้อ 57 เน้นคุณธรรมในข้อใด
ก.การตอบแทนบุญคุณ
ข.การให้ความรักต่อกัน
ค.ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ง.การมีความสามัคคี
59.นิทานอีสปเรื่องบิดากับบุตรทั้งหลายให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด
ก.พี่น้องต้องไม่ทะเลาะกัน
ข.พี่น้องต้องรักกัน สามัคคีปรองดองกัน
ค.พ่อตักเตือนอะไรผู้เป็นลูกต้องเชื่อฟัง
ง.ลูกที่ดีต้องให้ความเคารพรักบิดามารดา
60. ดุจไก่พบแก้วล้ำ หลีกแล้วเลยจร
โคลงบาทนี้ให้ข้อคิดตรงกับข้อใด
ก.คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด
ข.ของดีของมีค่าอยู่ที่ไหนก็ยังคงมีคุณค่า
ค.ผู้ที่ฉลาดย่อมรู้ว่าสิ่งใดมีประโยชน์แก่ตน
ง.ของดีของมีค่าย่อมมีประโยชน์แก่ผู้รู้จักใช้เท่านั้น