Kitaro - Celestial Scenery: Silk Road, Volume 1 (Full Album)
The Tarim Desert Highway
(Chinese: 塔里木沙漠公路; pinyin: Tǎlǐmù Shāmò Gōnglù),
ถนนทางหลวงข้ามทะเลทรายธาริม
Cross-Desert Highway (CDH) หรือ
ถนนทางหลวงข้ามทะเลทรายธาคลามากัน
Taklamakan Desert Highway
ตัดข้ามทะเลทรายธาคลามากันจากเหนือจรดใต้
มีถนนทางหลวงหลักสองเส้นและถนนรองหนึ่งเส้น
ทางหลวงเส้นนี้ในช่วงฤดูร้อนอุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซนเซียส
ส่วนในช่วงฤดูหนาวอุณหภูมิประมาณ -20 องศาเซนเซียส
ถนนทางหลวงนี้เชื่อมกับเมืองหลุนไท่ Luntai (Chinese: 轮台)
ถนนทางหลวงแผ่นดินที่ 314 และ หมินเฟิง Minfeng (Chinese: 民丰)
กับถนนทางหลวงแผ่นดินที่ 315, จากเหนือจรดใต้ที่
เชื่อมกับแอ่งทราย/กะทะของธาริม Tarim Basin
ความยาวของทางหลวงนี้ 552 กิโลเมตร
ความยาวสูงสุดทางหลวง 446 กิโลเมตร
ตัดผ่านเขตที่ไม่มีผู้คนตั้งรกรากอาศัยอยู่
ในเขตพื้นที่เต็มไปด้วยเนินทราย/สันทรายที่เคลื่อนตัวตลอดเวลา
ทำให้ถนนทางหลวงนี้ยาวที่สุดในโลก
สองข้างทางหลวง มีการปลูกพืชคลุมดินสองข้างถนน
เช่นเดียวกับสถานีจ่ายน้ำตามเส้นทาง
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/ichN3u
ประวัติความเป็นมา
การก่อสร้างทางหลวงนี้เริ่มต้นในปี พ.ศ.2536
เพราะการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
จึงจำเป็นต้องการเส้นทางขนส่งที่รวดเร็ว
ในการข้ามทะเลทรายธาคลามากัน
งานก่อสร้างเสร็จสิ้นในปี พ.ศ.2538
ซุ้มประตูทางเข้าทางหลวงธาริม
ที่ระลึกทางหลวงธาริม
ข้อมูลเกี่ยวกับทางหลวงธาริม
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/Gi5Qyb
งานบำรุงรักษา
เพื่อป้องกันฝุ่นทรายปกคลุมถนนทางหลวง
พุ่มไม้และพืชบางชนิดจะถูกปลูกสองข้างทางหลวง
เพื่อให้รากหยั่งลึกจับทรายไว้ได้
มีระบบน้ำหยดจากปั้มน้ำที่รดน้ำตลอดสายทางหลวง
บริการอื่น ๆ
มีจุดพักครึ่งทางถนนทางหลวงทะเลทราย
มีร้านอาหารจำนวนหนึ่งและปั้มน้ำมัน
สำหรับบริการคนทั่วไปและคนงานบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ
แต่เขตนี้ก็ยังไร้คนตั้งถิ่นฐานอาศัยเหมือนเดิม
หลักกิโลเมตรเริ่มต้นทางหลวงธาริม
รูปสัญลักษณ์ของทางหลวงธาริม
สถานีซินเกียงตอนใต้
สถานีซินเกียงตอนใต้ ด้านตะวันตก
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/CQzuEQ
Taqie Highway ทางหลวงธาควี
ทางหลวงนี้ยาว 156 กิโลเมตร
เป็นสายรองเชื่อมระหว่าง ต้าซ่อง Tazhong (Chinese: 塔中)
บนทางหลวงหลันหมิน Lunmin Highway
ทางเหนือกับกวี่โม่ Qiemo (Chinese: 且末)
ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้กับทางหลวงแผ่นดิน 315
เปิดให้บริการปี พ.ศ.2545 หรือเรียกกันว่า
ถนนทางหลวงเขตปกครองตนเอง S233
Ahe Highway ทางหลวงอาฮี
ถนนทางหลวงนี้ยาว 424.77 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ พ.ศ.2550 เริ่มจาก อารัล Aral (Chinese: 阿拉尔)
ถนนทางหลวงแผ่นดินสาย 314 ตะวันตกของเมืองประวัติศาสตร์ กู่ชา Kucha (Chinese: 库车)
ที่ศาลากลางจังหวัดอักซู Aksu Prefecture (Chinese: 阿克苏地区)
ลงไปทางตอนใต้เลียบกับแม่น้ำเหอเตียน Hetian River
จนสิ้นสุดปลายสายที่เหอเตียน Hetian (Chinese: 和田)
บนทางหลวงแผ่นดินสาย 315
ทะเลทรายธาคลามากัน
หรือเรียกกันว่า ธาคลิมากัน Taklimakan หรือ เธคลิมากัน Teklimakan,
เป็นทะเลทรายในด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเขตปกครองพิเศษ ซินเกียงอูยกูร์
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน
ล้อมรอบไปด้วยเทือกเขาคุนหลุน Kunlun Mountains ทางตอนใต้
และเทือกเขา ปามีร์ Pamir Mountains กับ เทียนซาน Tian Shan
(สมัยโบราณเรียกชื่อว่า ภูเขาอีมีออน Mount Imeon)
ไปทางตะวันตกและทางเหนือ และมีทะเลทรายโกบี อยู่ด้านทิศตะวันออก
ชื่อทะเลทรายแห่งนี้มากจากคนเผ่าอุยกูร์ ใช้คำจากภาษาอาราบิค
แปลว่า อยู่ตามลำพัก/ออกไป/เบื้องหลัง/ยกเลิก/สละทิ้ง สถานที่
มีอีกความหมายหนึ่งอธิบายว่ามาจากภาษาเตอร์กี
สถานที่แห่งความพินาศ หรือที่นิยมขนานนามกันว่า
เข้าไปแล้วไม่เคยกลับออกมา
หรือทะเลทรายแห่งความตาย
ทะเลทรายธาคลามากัน Taklamakan Desert
มีพื้นที่ 337,000 ตารางกิโลเมตร(130,116 ตารางไมล์)
ประกอบด้วยแอ่งทราย/แอ่งกะทะทาริม Tarim Basin
ยาว 1,000 กิโลเมตร (620 ไมล์) กว้าง 400 กิโลเมตร (250 ไมล์)
ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือกับทิศตะวันออกเฉียงใต้
มีเส้นทางสายไหมสองเส้นทางที่ผู้เดินทาง
ใช้หลีกเลี่ยงดินแดนแห้งแล้ง/รกร้างว่างเปล่า
เป็นทะเลทรายลำดับที่ 2 ของโลกที่มีสันทรายเคลื่อนตัวประมาณร้อยละ 85%
และอยู่ในลำดับที่ 18 ของทะเลทรายที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในรูป non-polar deserts
นักภูมิศาสตร์และนักนิเวศน์วิทยาได้ตั้งข้อสังเกตว่า
ทะเลทรายธาคลามากันแยกตัวและเป็นเอกเทศ
จากทะเลทรายโกบีที่อยู่ทางด้านทิศตะวันออก
หลายปีที่ผ่านมา พื้นที่ในเขตทะเลทรายบางแห่ง
ได้มีการพัฒนาปรับปรุงฟาร์มและหมู่บ้าน
เพราะการขยายตัวของพื้นที่ทะเลทราย
ทะเลทรายแห่งนี้ได้รับอิทธิพลฝนจากเทือกเขาหิมาลัย Himalayas
มีสภาพภูมิอากาศทะเลทรายที่หนาวเย็น
คล้ายคลึงกับสภาพภูมิอากาศในไซบีเรีย
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึกได้ต่ำกว่า −20 °C (−4 °F)
ระหว่างช่วงปี พ.ศ.2551 ที่เกิดพายุหิมะในประเทศจีน
ทะเลทรายธาคลามากันได้รายงานว่ามีหิมะ
ตกลงมาปกคลุมพื้นที่บางแห่งอย่างบางเบาที่ขนาด 4 เซนติเมตร (1.6 นิ้ว)
ที่อุณหภูมิ −26.1 °C (−15 °F)
เป็นดินแดนที่อยู่ในตำแหน่งสุดยอด
ใจกลางของทวีปเอเซียและหลายพันกิโลเมตรที่ปราศจากน้ำ
และมีสภาพอากาศหนาวเย็นในตอนกลางคืนแม้จะเป็นช่วงฤดูร้อน
แม่น้ำโมลชา Molcha (โมเลควี Moleqie) River
รูปร่างเหมือนพัดมีขนาดใหญ่โตมหึมา
ที่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของทะเลทรายธาคลามากัน Taklamakan Desert
ไหลลงจากเทือกเขาอัลทีลทากะ Altyn-Tagh
ไหลเข้าสู่ทะเลทรายทางทิศตะวันตกของชุมชนควี่โม่ Qiemo County
จะเห็นว่ากระแสน้ำมีสีน้ำเงินในหลายสาย
เพราะมาจากธารน้ำแข็งและหิมะที่ละลาย (ภาพถ่ายเดือนพฤษภาคม)
มีแหล่งน้ำน้อยมากในทะเลทรายแห่งนี้
และเส้นทางยากลำบากที่สุดในการข้ามทะเลทรายเช่นกัน
กองคาราวานพ่อค้าบนเส้นทางสายไหม
มักจะหยุดพักผ่อนในเมืองที่มีโอเอซิส(แหล่งน้ำ)
ซึ่งเมืองเหล่านี้ก่อให้เกิดอารยธรรมโบราณหลายแห่ง
ตั้งแต่ทิศตะวันตะตกเฉียงเหนือในแอ่งทะเลทราย ที่เมือง อามู ดาร์ยา Amu Darya
ไปทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเทือกเขาอัฟกานิสถาน
ผ่านเส้นทางไปอิหร่านและอินเดีย และทางตะวันออกของจีน
แม้กระทั่งทางทิศเหนือจะสามารถพบเมืองโบราณเช่น อัลมาธี่ Almaty
หมายเหตุ ทะเลทรายธาคลามากันกับหลายเมือง
พระถังซ้ำจั๋งเคยผ่านทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย
ดินแดนแถวนี้จึงปะปนไปทั้งศาสนาพุทธ อิสลาม คริสต์ ไซโรอัสเตอร์
จนกระทั่งปัจจุบันยังมีศาสนาพุทธคงอยู่บ้างเล็กน้อยในดินแดนแถวนี้
ส่วนนิยายพระถังซำจั๋ง กับ เห้งเจีย ตือโป้ยก่าย ซัวเจ๋ง
เป็นการบรรยายธรรมในรูปนิทาน
ศีล(โป้ยก่าย_ชอบอ้างเรื่องศีล) สมาธิ(ซัวเจ๋ง_นิ่งเฉยไม่ค่อยมีบทบาท)
ปัญญา(เห้งเจีย_แก้ไขปัญหามีไหวพริบปฏิภาณ)
พระถังซ้ำจั๋ง(ปุถุชนผจญมารรอการหลุดพ้น)
เทือกเขาล้อมรอบเมืองอัลมาธี่ Almaty
หมอกควันปกคลุมเมืองอัลมาธี่ Almaty
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/YymZNt
โบสถ์เซนคอฟ Zenkov Cathedral ของนิกายรัสเซียออร์โธดอกซ์ Russian Orthodox ในศตวรรษที่ 19
ตั้งอยู่ที่สวนสาธารณะปานฟิลอฟ Panfilov Park เป็นสิ่งก่อสร้างทำจากไม้ที่สูงเป็นลำดับสองของโลก
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/2iuWA4
มัสยิศกลางของเมืองอัลมาธี่ Almaty
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/Z7Dx0h
เมืองยามราตรีเมืองอัลมาธี่
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/wHBwxj
ทางหลวงธารีมข้ามทะเลทรายยาวที่สุดในโลก
Kitaro - Celestial Scenery: Silk Road, Volume 1 (Full Album)
ถนนทางหลวงธาริม
ที่มาของภาพ http://goo.gl/UQlRlG
The Tarim Desert Highway
(Chinese: 塔里木沙漠公路; pinyin: Tǎlǐmù Shāmò Gōnglù),
ถนนทางหลวงข้ามทะเลทรายธาริม
Cross-Desert Highway (CDH) หรือ
ถนนทางหลวงข้ามทะเลทรายธาคลามากัน
Taklamakan Desert Highway
ตัดข้ามทะเลทรายธาคลามากันจากเหนือจรดใต้
มีถนนทางหลวงหลักสองเส้นและถนนรองหนึ่งเส้น
ทางหลวงเส้นนี้ในช่วงฤดูร้อนอุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซนเซียส
ส่วนในช่วงฤดูหนาวอุณหภูมิประมาณ -20 องศาเซนเซียส
PetroChina ปั้มน้ำมันใจกลางทะเลทราย
ที่มาของภาพ http://goo.gl/I8Rl7J
ถนนทางหลวงนี้เชื่อมกับเมืองหลุนไท่ Luntai (Chinese: 轮台)
ถนนทางหลวงแผ่นดินที่ 314 และ หมินเฟิง Minfeng (Chinese: 民丰)
กับถนนทางหลวงแผ่นดินที่ 315, จากเหนือจรดใต้ที่
เชื่อมกับแอ่งทราย/กะทะของธาริม Tarim Basin
ความยาวของทางหลวงนี้ 552 กิโลเมตร
ความยาวสูงสุดทางหลวง 446 กิโลเมตร
ตัดผ่านเขตที่ไม่มีผู้คนตั้งรกรากอาศัยอยู่
ในเขตพื้นที่เต็มไปด้วยเนินทราย/สันทรายที่เคลื่อนตัวตลอดเวลา
ทำให้ถนนทางหลวงนี้ยาวที่สุดในโลก
สองข้างทางหลวง มีการปลูกพืชคลุมดินสองข้างถนน
เช่นเดียวกับสถานีจ่ายน้ำตามเส้นทาง
ที่มาของภาพ http://goo.gl/ichN3u
ประวัติความเป็นมา
การก่อสร้างทางหลวงนี้เริ่มต้นในปี พ.ศ.2536
เพราะการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
จึงจำเป็นต้องการเส้นทางขนส่งที่รวดเร็ว
ในการข้ามทะเลทรายธาคลามากัน
งานก่อสร้างเสร็จสิ้นในปี พ.ศ.2538
ซุ้มประตูทางเข้าทางหลวงธาริม
ที่ระลึกทางหลวงธาริม
ข้อมูลเกี่ยวกับทางหลวงธาริม
ที่มาของภาพ http://goo.gl/Gi5Qyb
งานบำรุงรักษา
เพื่อป้องกันฝุ่นทรายปกคลุมถนนทางหลวง
พุ่มไม้และพืชบางชนิดจะถูกปลูกสองข้างทางหลวง
เพื่อให้รากหยั่งลึกจับทรายไว้ได้
มีระบบน้ำหยดจากปั้มน้ำที่รดน้ำตลอดสายทางหลวง
บริการอื่น ๆ
มีจุดพักครึ่งทางถนนทางหลวงทะเลทราย
มีร้านอาหารจำนวนหนึ่งและปั้มน้ำมัน
สำหรับบริการคนทั่วไปและคนงานบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ
แต่เขตนี้ก็ยังไร้คนตั้งถิ่นฐานอาศัยเหมือนเดิม
หลักกิโลเมตรเริ่มต้นทางหลวงธาริม
รูปสัญลักษณ์ของทางหลวงธาริม
สถานีซินเกียงตอนใต้
สถานีซินเกียงตอนใต้ ด้านตะวันตก
ที่มาของภาพ http://goo.gl/CQzuEQ
Taqie Highway ทางหลวงธาควี
ทางหลวงนี้ยาว 156 กิโลเมตร
เป็นสายรองเชื่อมระหว่าง ต้าซ่อง Tazhong (Chinese: 塔中)
บนทางหลวงหลันหมิน Lunmin Highway
ทางเหนือกับกวี่โม่ Qiemo (Chinese: 且末)
ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้กับทางหลวงแผ่นดิน 315
เปิดให้บริการปี พ.ศ.2545 หรือเรียกกันว่า
ถนนทางหลวงเขตปกครองตนเอง S233
Ahe Highway ทางหลวงอาฮี
ถนนทางหลวงนี้ยาว 424.77 กิโลเมตร
เปิดให้บริการ พ.ศ.2550 เริ่มจาก อารัล Aral (Chinese: 阿拉尔)
ถนนทางหลวงแผ่นดินสาย 314 ตะวันตกของเมืองประวัติศาสตร์ กู่ชา Kucha (Chinese: 库车)
ที่ศาลากลางจังหวัดอักซู Aksu Prefecture (Chinese: 阿克苏地区)
ลงไปทางตอนใต้เลียบกับแม่น้ำเหอเตียน Hetian River
จนสิ้นสุดปลายสายที่เหอเตียน Hetian (Chinese: 和田)
บนทางหลวงแผ่นดินสาย 315
ทะเลทรายธาคลามากัน
ทางหลวงข้ามทะเลทราย
ทางหลวงข้ามทะเลทราย
ที่มาของภาพ http://goo.gl/CQzuEQ
ทะเลทรายธาคลามากัน
หรือเรียกกันว่า ธาคลิมากัน Taklimakan หรือ เธคลิมากัน Teklimakan,
เป็นทะเลทรายในด้านตะวันตกเฉียงใต้ของเขตปกครองพิเศษ ซินเกียงอูยกูร์
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน
ล้อมรอบไปด้วยเทือกเขาคุนหลุน Kunlun Mountains ทางตอนใต้
และเทือกเขา ปามีร์ Pamir Mountains กับ เทียนซาน Tian Shan
(สมัยโบราณเรียกชื่อว่า ภูเขาอีมีออน Mount Imeon)
ไปทางตะวันตกและทางเหนือ และมีทะเลทรายโกบี อยู่ด้านทิศตะวันออก
ชื่อทะเลทรายแห่งนี้มากจากคนเผ่าอุยกูร์ ใช้คำจากภาษาอาราบิค
แปลว่า อยู่ตามลำพัก/ออกไป/เบื้องหลัง/ยกเลิก/สละทิ้ง สถานที่
มีอีกความหมายหนึ่งอธิบายว่ามาจากภาษาเตอร์กี
สถานที่แห่งความพินาศ หรือที่นิยมขนานนามกันว่า
เข้าไปแล้วไม่เคยกลับออกมา
หรือทะเลทรายแห่งความตาย
ทะเลทรายธาคลามากัน กับ แอ่งกะทะ
ที่มาของภาพ http://goo.gl/4En64Q
แอ่งกะทะธารีม โดย Nasa World Wind
ที่มาของภาพ http://goo.gl/92GlpZ
คาดว่ามีผู้คนมาตั้งรกรากตั้งแต่ศตวรรษที่ 3
ที่มาของภาพ http://goo.gl/dXbZp1
สันทรายที่เคลื่อนตัว ภาพถ่ายดาวเทียมจาก NASA's Landsat-7
http://goo.gl/bN03MP
ทะเลทรายธาคลามากัน Taklamakan Desert
มีพื้นที่ 337,000 ตารางกิโลเมตร(130,116 ตารางไมล์)
ประกอบด้วยแอ่งทราย/แอ่งกะทะทาริม Tarim Basin
ยาว 1,000 กิโลเมตร (620 ไมล์) กว้าง 400 กิโลเมตร (250 ไมล์)
ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือกับทิศตะวันออกเฉียงใต้
มีเส้นทางสายไหมสองเส้นทางที่ผู้เดินทาง
ใช้หลีกเลี่ยงดินแดนแห้งแล้ง/รกร้างว่างเปล่า
เป็นทะเลทรายลำดับที่ 2 ของโลกที่มีสันทรายเคลื่อนตัวประมาณร้อยละ 85%
และอยู่ในลำดับที่ 18 ของทะเลทรายที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในรูป non-polar deserts
นักภูมิศาสตร์และนักนิเวศน์วิทยาได้ตั้งข้อสังเกตว่า
ทะเลทรายธาคลามากันแยกตัวและเป็นเอกเทศ
จากทะเลทรายโกบีที่อยู่ทางด้านทิศตะวันออก
หลายปีที่ผ่านมา พื้นที่ในเขตทะเลทรายบางแห่ง
ได้มีการพัฒนาปรับปรุงฟาร์มและหมู่บ้าน
เพราะการขยายตัวของพื้นที่ทะเลทราย
ทะเลทรายแห่งนี้ได้รับอิทธิพลฝนจากเทือกเขาหิมาลัย Himalayas
มีสภาพภูมิอากาศทะเลทรายที่หนาวเย็น
คล้ายคลึงกับสภาพภูมิอากาศในไซบีเรีย
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึกได้ต่ำกว่า −20 °C (−4 °F)
ระหว่างช่วงปี พ.ศ.2551 ที่เกิดพายุหิมะในประเทศจีน
ทะเลทรายธาคลามากันได้รายงานว่ามีหิมะ
ตกลงมาปกคลุมพื้นที่บางแห่งอย่างบางเบาที่ขนาด 4 เซนติเมตร (1.6 นิ้ว)
ที่อุณหภูมิ −26.1 °C (−15 °F)
เป็นดินแดนที่อยู่ในตำแหน่งสุดยอด
ใจกลางของทวีปเอเซียและหลายพันกิโลเมตรที่ปราศจากน้ำ
และมีสภาพอากาศหนาวเย็นในตอนกลางคืนแม้จะเป็นช่วงฤดูร้อน
ที่มาของภาพ http://goo.gl/HlvFqc
แม่น้ำโมลชา Molcha (โมเลควี Moleqie) River
รูปร่างเหมือนพัดมีขนาดใหญ่โตมหึมา
ที่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของทะเลทรายธาคลามากัน Taklamakan Desert
ไหลลงจากเทือกเขาอัลทีลทากะ Altyn-Tagh
ไหลเข้าสู่ทะเลทรายทางทิศตะวันตกของชุมชนควี่โม่ Qiemo County
จะเห็นว่ากระแสน้ำมีสีน้ำเงินในหลายสาย
เพราะมาจากธารน้ำแข็งและหิมะที่ละลาย (ภาพถ่ายเดือนพฤษภาคม)
เส้นทางสายไหมทางบกสีแดง กับทางทะเลสีน้ำเงิน
ที่มาของภาพ http://goo.gl/JYz8md
มีแหล่งน้ำน้อยมากในทะเลทรายแห่งนี้
และเส้นทางยากลำบากที่สุดในการข้ามทะเลทรายเช่นกัน
กองคาราวานพ่อค้าบนเส้นทางสายไหม
มักจะหยุดพักผ่อนในเมืองที่มีโอเอซิส(แหล่งน้ำ)
ซึ่งเมืองเหล่านี้ก่อให้เกิดอารยธรรมโบราณหลายแห่ง
ตั้งแต่ทิศตะวันตะตกเฉียงเหนือในแอ่งทะเลทราย ที่เมือง อามู ดาร์ยา Amu Darya
ไปทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเทือกเขาอัฟกานิสถาน
ผ่านเส้นทางไปอิหร่านและอินเดีย และทางตะวันออกของจีน
แม้กระทั่งทางทิศเหนือจะสามารถพบเมืองโบราณเช่น อัลมาธี่ Almaty
หมายเหตุ ทะเลทรายธาคลามากันกับหลายเมือง
พระถังซ้ำจั๋งเคยผ่านทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาในอินเดีย
ดินแดนแถวนี้จึงปะปนไปทั้งศาสนาพุทธ อิสลาม คริสต์ ไซโรอัสเตอร์
จนกระทั่งปัจจุบันยังมีศาสนาพุทธคงอยู่บ้างเล็กน้อยในดินแดนแถวนี้
ส่วนนิยายพระถังซำจั๋ง กับ เห้งเจีย ตือโป้ยก่าย ซัวเจ๋ง
เป็นการบรรยายธรรมในรูปนิทาน
ศีล(โป้ยก่าย_ชอบอ้างเรื่องศีล) สมาธิ(ซัวเจ๋ง_นิ่งเฉยไม่ค่อยมีบทบาท)
ปัญญา(เห้งเจีย_แก้ไขปัญหามีไหวพริบปฏิภาณ)
พระถังซ้ำจั๋ง(ปุถุชนผจญมารรอการหลุดพ้น)
ภาพเมือง Amu Darya จากประเทศ Turkmenistan
ที่มาของภาพ http://goo.gl/0eUbaz
สะพานข้ามแม่น้ำอามู จาก Afghanistan ไป Tajikistan
ที่มาของภาพ http://goo.gl/nXRsUq
คนในพื้นที่จ่ายส่วยให้กับบาบูร์ (เจ้านครรัฐ) ในปี พ.ศ.1453
ที่มาของภาพ
http://goo.gl/hFwLnH
เทือกเขาล้อมรอบเมืองอัลมาธี่ Almaty
หมอกควันปกคลุมเมืองอัลมาธี่ Almaty
ที่มาของภาพ http://goo.gl/YymZNt
โบสถ์เซนคอฟ Zenkov Cathedral ของนิกายรัสเซียออร์โธดอกซ์ Russian Orthodox ในศตวรรษที่ 19
ตั้งอยู่ที่สวนสาธารณะปานฟิลอฟ Panfilov Park เป็นสิ่งก่อสร้างทำจากไม้ที่สูงเป็นลำดับสองของโลก
ที่มาของภาพ http://goo.gl/2iuWA4
มัสยิศกลางของเมืองอัลมาธี่ Almaty
ที่มาของภาพ http://goo.gl/Z7Dx0h
เมืองยามราตรีเมืองอัลมาธี่
ที่มาของภาพ http://goo.gl/wHBwxj