จขกท.ว่า เป็นโบถ์-วิหาร ที่เป็นสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา ที่สวยหลังหนึ่งเลย
ประวัติ
วัดภุมรินราชปักษี เป็นวัดที่ยุบรวมกันกับวัดดุสิดารามแล้วในปัจจุบัน สาเหตุที่ร้างเพราะว่าเหลือพระจำพรรษาอยู่รูปเดียว ปรากฏบนแผนที่กรุงเทพเมื่อประมาณ 100 ปีมาแล้ว พ.ศ.2453 บริเวณนี้คือปากคลองบางกอกน้อย หรือสะพานพระปิ่นเกล้าในปัจจุบัน ยังมีป้ายชื่อของวัดภุมรินทร์อยู่ทางทิศเหนือของวัดดุสิดารามหลังจากถูกยุบ ไปในรัชกาลที่ 6 สภาพในปัจจุบันเป็นวัดร้างที่สมบูรณ์ท่าสุดที่เท่าที่ไปสำรวจมา สันนิษฐานได้ว่าอาจเก่ากว่าสมัยกรุงเทพฯ มีพระวิหารเก่าเป็นพระวิหารขนาดเล็ก ฐานโค้งเป็นทรงสำเภาสวยงาม ที่ด้านหลังของวิหารมีพระพุทธรูปประทับยืนขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่
พระอุโบสถเก่าวัดภุมรินราชปักษี ที่แม้มีขนาดเล็ก แต่ก็มีรูปทรงงดงาม หน้าบันเป็นลายปูนปั้นรูปนารายณ์ทรงครุฑและมยุรารำแพนปิดกระจกสี ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อวัดนี้ก็ได้
ที่มา facebook วัดวาอาราม
เสาและหลังคาด้านหน้าหลังไปแล้ว
ใกล้ๆ
ฐาน
อีกมุม
ประตู และโปรสังเกตุที่ ฐานโบสถ์มีลักษณะแอ่นโค้ง หรือศัพท์ทางช่างเรียกว่า ตกท้องสำเภา หรือท้องช้าง
ถ่ายมาหมดแต่ลืมไปถ่ายด้านหน้าด้านที่มีเสา(คิดว่าอย่างนั้นนะ)สาเหตุเพราะอุโบสถ หลังนี้หันหลังเข้าถนน และตอนไปถ่ายก็ไม่รู้ด้านไหนด้านหน้าด้านหลังเห็มีประตูเข้าทั้งสองทาง
5 ภาพด้านล่างต่อไปนี้เป็นภาพจากfacebook วัดวาอาราม เอาด้านหน้ามาให้ชมเดียว ขอบคุณเจ้าของภาพด้วยครับ
มาดูอีกหลัง คิดว่าน่าจะเป็นวิหาร มองจากด้านข้าง ฐานแอ่นเหมือนกัน
หลังนี้ดูสมบูรณ์กว่าหลังแรกเพราะหลังคาอยู่ครบทั้งสามส่วน
คันทวยสวยมาก(ค้ำยันชายคา)
อีกมุม
หน้าบัน เป็นรูปนกยูงสวยมาก ลองจินตนาการไปตอนที่ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ กระเบื้อสีจะสวยขนาดไหน
อันนี้อีกด้านที่ติดถนน มีนกยูงเหมือนกัน ดูไม่ออกว่าด้านไหนด้านหน้าด้านหลัง
มุมมองจากถนน
ปิดท้ายด้วยภาพนี้ครับ กุฎิโบราณที่พึ่งบูรณะเสร็จใหม่ๆ ถ่ายยากพอสมควรเนื่องจากด้านหน้าหันหน้าออกไปทางถนนใหญ่ ซึ่งมีคลองกั้นอยู่ แต่มีทางเดินเลียบคลองไป แต่ต้องยื่นแขนถ่ายให้พ้นรั้วสังกะสี
เอารูปโบถ์วิหารวัดภุมรินทร์ราชปักษี(วัดดุสิดาราม วรวิหาร)มาให้ชม
ประวัติ
วัดภุมรินราชปักษี เป็นวัดที่ยุบรวมกันกับวัดดุสิดารามแล้วในปัจจุบัน สาเหตุที่ร้างเพราะว่าเหลือพระจำพรรษาอยู่รูปเดียว ปรากฏบนแผนที่กรุงเทพเมื่อประมาณ 100 ปีมาแล้ว พ.ศ.2453 บริเวณนี้คือปากคลองบางกอกน้อย หรือสะพานพระปิ่นเกล้าในปัจจุบัน ยังมีป้ายชื่อของวัดภุมรินทร์อยู่ทางทิศเหนือของวัดดุสิดารามหลังจากถูกยุบ ไปในรัชกาลที่ 6 สภาพในปัจจุบันเป็นวัดร้างที่สมบูรณ์ท่าสุดที่เท่าที่ไปสำรวจมา สันนิษฐานได้ว่าอาจเก่ากว่าสมัยกรุงเทพฯ มีพระวิหารเก่าเป็นพระวิหารขนาดเล็ก ฐานโค้งเป็นทรงสำเภาสวยงาม ที่ด้านหลังของวิหารมีพระพุทธรูปประทับยืนขนาดใหญ่ประดิษฐานอยู่
พระอุโบสถเก่าวัดภุมรินราชปักษี ที่แม้มีขนาดเล็ก แต่ก็มีรูปทรงงดงาม หน้าบันเป็นลายปูนปั้นรูปนารายณ์ทรงครุฑและมยุรารำแพนปิดกระจกสี ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อวัดนี้ก็ได้
ที่มา facebook วัดวาอาราม
เสาและหลังคาด้านหน้าหลังไปแล้ว
ใกล้ๆ
ฐาน
อีกมุม
ประตู และโปรสังเกตุที่ ฐานโบสถ์มีลักษณะแอ่นโค้ง หรือศัพท์ทางช่างเรียกว่า ตกท้องสำเภา หรือท้องช้าง
ถ่ายมาหมดแต่ลืมไปถ่ายด้านหน้าด้านที่มีเสา(คิดว่าอย่างนั้นนะ)สาเหตุเพราะอุโบสถ หลังนี้หันหลังเข้าถนน และตอนไปถ่ายก็ไม่รู้ด้านไหนด้านหน้าด้านหลังเห็มีประตูเข้าทั้งสองทาง
5 ภาพด้านล่างต่อไปนี้เป็นภาพจากfacebook วัดวาอาราม เอาด้านหน้ามาให้ชมเดียว ขอบคุณเจ้าของภาพด้วยครับ
มาดูอีกหลัง คิดว่าน่าจะเป็นวิหาร มองจากด้านข้าง ฐานแอ่นเหมือนกัน
หลังนี้ดูสมบูรณ์กว่าหลังแรกเพราะหลังคาอยู่ครบทั้งสามส่วน
คันทวยสวยมาก(ค้ำยันชายคา)
อีกมุม
หน้าบัน เป็นรูปนกยูงสวยมาก ลองจินตนาการไปตอนที่ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ กระเบื้อสีจะสวยขนาดไหน
อันนี้อีกด้านที่ติดถนน มีนกยูงเหมือนกัน ดูไม่ออกว่าด้านไหนด้านหน้าด้านหลัง
มุมมองจากถนน
ปิดท้ายด้วยภาพนี้ครับ กุฎิโบราณที่พึ่งบูรณะเสร็จใหม่ๆ ถ่ายยากพอสมควรเนื่องจากด้านหน้าหันหน้าออกไปทางถนนใหญ่ ซึ่งมีคลองกั้นอยู่ แต่มีทางเดินเลียบคลองไป แต่ต้องยื่นแขนถ่ายให้พ้นรั้วสังกะสี