ในความคิดของผมนะครับ
มันเริ่มมาตั้งแต่ ประเทศเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตยแล้วครับ
เพราะว่า ก่อนเปลี่ยนการปกครอง ชาวนา ไม่ต้องหาตลาดเอง ผลิตได้เท่าไหร่ก็ส่งเข้ารัฐหมด
เพื่อแลกกับสิทธิต่างๆ เช่นการไม่ต้องเข้ารับราชการทหาร หรือถูกกำหนดเป็นหน้าที่ในยามศึกสงครามเพื่อเป็นเสบียงของกองทัพ
หรือขายให้กับรัฐ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ
พอเริ่มเปลี่ยนการปกครองขึ้นมา รัฐบอก มอบสิทธิแก่ชาวนาที่จะขายเอง
และไม่จำเป็นต้องมีหน้าที่ต้องส่งเข้ารัฐเพื่อเลี้ยงทหารแบบสงครามสมัยก่อนแล้ว
ชาวนาจึงต้องหาตลาดเอง แต่ด้วยความไม่ถนัด จึงเป็นโอกาสทองให้อาชีพพ่อค้าคนกลางเฟื่องฟู
พ่อค้าคนกลางสมัยนั้นรวยกันไม่รู้เรื่อง
แต่ชาวนาก็ยังจนเหมือนเดิม
ต่อมามีคนพูดกันมากเรื่องปัญหาพ่อค้าคนกลางเอาเปรียบชาวนา รัฐบาลสมัยนั้น จึงเริ่มนโยบาลประชานิยม(นโยบาย กำจัดพ่อค้าคนกลาง น่าจะเป็นนโยบายประชานิยมสมัยแรกๆของรัฐบาลสมัยนั้น) กำจัดพ่อค้าคนกลางขึ้นมา ด้วยนโยบายรับจำนำข้าว (จริงๆแล้ว นโยบายรับจำนำข้าวเกิดมานานแล้วครับ ตั้งแต่สมัยนั้น)
จริงๆแล้ว ผู้เขียนเห็นว่า การแก้ปัญหาเรื่องพ่อค้าคนกลางไม่ถูกวิธีแบบนี้ น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหามาจนถึงปัจจุบันนี้ เพราะว่า ถ้ารัฐบาลสมัยนั้น แก้ปัญหาด้วยการ สอนให้ชาวนาหาตลาดเอง เข้าใจหลักการตลาด ปัญหานี้คงหมดไปนานแล้ว
ต่อมา รัฐบาลต่อๆมา ก็ยังคงไม่ได้มีนโยบายชัดเจนในการสอนให้ชาวนาหาตลาดเอง หรือเข้าใจหลักการตลาด เพื่อทำตลาดกันเอง เมื่อมีปัญหาเรื่องชาวนา กับพ่อค้าคนกลางขึ้นมาทีไร ก็หยิบเอานโยบายจำนำข้าวขึ้นมาปัดฝุ่นที ให้ผ่านๆไป
เมื่อมาถึง สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ ที่ผ่านมาไม่นาน ก็ำหยิบนโยบายจำนำข้าวมาปัดฝุ่นอีกครั้ง แต่ดัดแปลงนิดหน่อย และเปลี่ยนชื่อเป็นประกันราคาข้าว
(น่าจะมาจาก ที่ปรึกษาฝรั่งที่จ้างมา แนะนำ พร้อมๆกับ นโยบายแปลกๆอีกหลายอย่าง เช่น ชั่งไข่ขายเป็นกิโล ฯลฯ)
พอมาถึง สมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ก็ยังหยิบเอานโยบายจำนำข้าว ขึ้นมาปัดฝุ่นอีก (อาจด้วยความจำเป็น เนื่องจากไปหาเสียงไว้)
จะเห็นว่า ปัญหาเรื่องชาวนา เริ่มมาตั้งแต่เปลี่ยนการปกครองเป็นแบบประชาธิปไตยแล้วครับ
เมื่อก่อนชาวนาไม่ต้องหาตลาดเอง เพราะมีตลาดเดียวคือรัฐบาล
แต่พอเปลี่ยนการปกครองขึ้นมา กระทันหัน ชาวนาต้องหาตลาดเอง ปรับตัวไงไหวล่ะครับ ที่ทำมาก็ทำต่อๆกันมาเป็นร้อยปีแล้วตอนนั้น
รัฐบาลที่เข้ามาบริหาร ก็ไม่เคยมีรัฐบาลไหน จะสอนให้ชาวนาหาตลาดเอง สอนให้เข้าใจการตลาด
หรือเป็นเพราะว่ารัฐบาลที่ผ่านๆมารวมทั้งรัฐบาลปัจจุบันด้วย ดูถูกอาชีพชาวนา ดูถูกชาวนา แก้ปัญหาให้ผ่านไปเป็นทีๆ เ่ท่านั้น
ชาวนาไทย ถึงได้ยากจนกว่าประเทศอื่นๆที่เขาปลูกข้าวกัน
ทำไมชาวนาไทยถึง ยากจน
มันเริ่มมาตั้งแต่ ประเทศเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตยแล้วครับ
เพราะว่า ก่อนเปลี่ยนการปกครอง ชาวนา ไม่ต้องหาตลาดเอง ผลิตได้เท่าไหร่ก็ส่งเข้ารัฐหมด
เพื่อแลกกับสิทธิต่างๆ เช่นการไม่ต้องเข้ารับราชการทหาร หรือถูกกำหนดเป็นหน้าที่ในยามศึกสงครามเพื่อเป็นเสบียงของกองทัพ
หรือขายให้กับรัฐ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ
พอเริ่มเปลี่ยนการปกครองขึ้นมา รัฐบอก มอบสิทธิแก่ชาวนาที่จะขายเอง
และไม่จำเป็นต้องมีหน้าที่ต้องส่งเข้ารัฐเพื่อเลี้ยงทหารแบบสงครามสมัยก่อนแล้ว
ชาวนาจึงต้องหาตลาดเอง แต่ด้วยความไม่ถนัด จึงเป็นโอกาสทองให้อาชีพพ่อค้าคนกลางเฟื่องฟู
พ่อค้าคนกลางสมัยนั้นรวยกันไม่รู้เรื่อง
แต่ชาวนาก็ยังจนเหมือนเดิม
ต่อมามีคนพูดกันมากเรื่องปัญหาพ่อค้าคนกลางเอาเปรียบชาวนา รัฐบาลสมัยนั้น จึงเริ่มนโยบาลประชานิยม(นโยบาย กำจัดพ่อค้าคนกลาง น่าจะเป็นนโยบายประชานิยมสมัยแรกๆของรัฐบาลสมัยนั้น) กำจัดพ่อค้าคนกลางขึ้นมา ด้วยนโยบายรับจำนำข้าว (จริงๆแล้ว นโยบายรับจำนำข้าวเกิดมานานแล้วครับ ตั้งแต่สมัยนั้น)
จริงๆแล้ว ผู้เขียนเห็นว่า การแก้ปัญหาเรื่องพ่อค้าคนกลางไม่ถูกวิธีแบบนี้ น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหามาจนถึงปัจจุบันนี้ เพราะว่า ถ้ารัฐบาลสมัยนั้น แก้ปัญหาด้วยการ สอนให้ชาวนาหาตลาดเอง เข้าใจหลักการตลาด ปัญหานี้คงหมดไปนานแล้ว
ต่อมา รัฐบาลต่อๆมา ก็ยังคงไม่ได้มีนโยบายชัดเจนในการสอนให้ชาวนาหาตลาดเอง หรือเข้าใจหลักการตลาด เพื่อทำตลาดกันเอง เมื่อมีปัญหาเรื่องชาวนา กับพ่อค้าคนกลางขึ้นมาทีไร ก็หยิบเอานโยบายจำนำข้าวขึ้นมาปัดฝุ่นที ให้ผ่านๆไป
เมื่อมาถึง สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ ที่ผ่านมาไม่นาน ก็ำหยิบนโยบายจำนำข้าวมาปัดฝุ่นอีกครั้ง แต่ดัดแปลงนิดหน่อย และเปลี่ยนชื่อเป็นประกันราคาข้าว
(น่าจะมาจาก ที่ปรึกษาฝรั่งที่จ้างมา แนะนำ พร้อมๆกับ นโยบายแปลกๆอีกหลายอย่าง เช่น ชั่งไข่ขายเป็นกิโล ฯลฯ)
พอมาถึง สมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ก็ยังหยิบเอานโยบายจำนำข้าว ขึ้นมาปัดฝุ่นอีก (อาจด้วยความจำเป็น เนื่องจากไปหาเสียงไว้)
จะเห็นว่า ปัญหาเรื่องชาวนา เริ่มมาตั้งแต่เปลี่ยนการปกครองเป็นแบบประชาธิปไตยแล้วครับ
เมื่อก่อนชาวนาไม่ต้องหาตลาดเอง เพราะมีตลาดเดียวคือรัฐบาล
แต่พอเปลี่ยนการปกครองขึ้นมา กระทันหัน ชาวนาต้องหาตลาดเอง ปรับตัวไงไหวล่ะครับ ที่ทำมาก็ทำต่อๆกันมาเป็นร้อยปีแล้วตอนนั้น
รัฐบาลที่เข้ามาบริหาร ก็ไม่เคยมีรัฐบาลไหน จะสอนให้ชาวนาหาตลาดเอง สอนให้เข้าใจการตลาด
หรือเป็นเพราะว่ารัฐบาลที่ผ่านๆมารวมทั้งรัฐบาลปัจจุบันด้วย ดูถูกอาชีพชาวนา ดูถูกชาวนา แก้ปัญหาให้ผ่านไปเป็นทีๆ เ่ท่านั้น
ชาวนาไทย ถึงได้ยากจนกว่าประเทศอื่นๆที่เขาปลูกข้าวกัน