สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 6
เพิ่มเติมให้เห็นภาพชัดๆ จากที่คห.3 อธิบายนะคะ
เพราะเป็นไปตามหลักความสัมพันธ์ Predator-Prey Populations Cycles ค่ะ
source : [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ประมาณว่าตอนมีเหยื่อ(ผู้ถูกล่า)เยอะ ผู้ล่าก็หากินง่ายมีอาหารอุดมสมบูรณ์ประชากรผู้ล่าก็จะมีเพิ่มมากขึ้น ทำให้เหยื่อจะมีจำนวนลดลง(ถูกกิน)
ทีนี้พอเหยื่อมีน้อย ผู้ล่าก็อดอยากหาอาหารยากต้องแย่งชิงกันล่าอาหารไม่ได้ก็ตายไปประชากรก็ลดลงตามไปด้วย
และในช่วงนี้ก็จะส่งผลให้ผู้ถูกล่าที่เหลืออยู่เพิ่มจำนวนได้ง่ายขึ้นและกลับมามีจำนวนมากเหมือนเดิม
แล้วก็จะวนเวียนไปอย่างนี้เรื่อยๆค่ะ ลองดูกราฟข้างล่างประกอบ...
source: [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สังเกตว่าจำนวนประชากรของทั้งผู้ล่าและผู้ถูกล่าจะมีความสัมพันธ์ตามกันไปแบบเหลื่อมๆกันอยู่เล็กน้อย
คือในช่วงที่จำนวนผู้ล่าอยู่จุดสูงสุด ->เหยื่อก็ลดลงอย่างรวดเร็ว
และในช่วงที่จำนวนผู้ล่าอยู่จุดต่ำสุด -> เหยื่อจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
จำนวนจริงๆอาจไม่ได้เห็นชัดเจนอย่างนี้ แต่ก็พอจะดูออกว่าเป็นไปตามเหตุผลดังกล่าวได้จริงๆ
source: [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
เพราะเป็นไปตามหลักความสัมพันธ์ Predator-Prey Populations Cycles ค่ะ
source : [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ประมาณว่าตอนมีเหยื่อ(ผู้ถูกล่า)เยอะ ผู้ล่าก็หากินง่ายมีอาหารอุดมสมบูรณ์ประชากรผู้ล่าก็จะมีเพิ่มมากขึ้น ทำให้เหยื่อจะมีจำนวนลดลง(ถูกกิน)
ทีนี้พอเหยื่อมีน้อย ผู้ล่าก็อดอยากหาอาหารยากต้องแย่งชิงกันล่าอาหารไม่ได้ก็ตายไปประชากรก็ลดลงตามไปด้วย
และในช่วงนี้ก็จะส่งผลให้ผู้ถูกล่าที่เหลืออยู่เพิ่มจำนวนได้ง่ายขึ้นและกลับมามีจำนวนมากเหมือนเดิม
แล้วก็จะวนเวียนไปอย่างนี้เรื่อยๆค่ะ ลองดูกราฟข้างล่างประกอบ...
source: [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
สังเกตว่าจำนวนประชากรของทั้งผู้ล่าและผู้ถูกล่าจะมีความสัมพันธ์ตามกันไปแบบเหลื่อมๆกันอยู่เล็กน้อย
คือในช่วงที่จำนวนผู้ล่าอยู่จุดสูงสุด ->เหยื่อก็ลดลงอย่างรวดเร็ว
และในช่วงที่จำนวนผู้ล่าอยู่จุดต่ำสุด -> เหยื่อจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
จำนวนจริงๆอาจไม่ได้เห็นชัดเจนอย่างนี้ แต่ก็พอจะดูออกว่าเป็นไปตามเหตุผลดังกล่าวได้จริงๆ
source: [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
แสดงความคิดเห็น
ทำไมสัตว์ผู้ล่าจึงมีจำนวนน้อยกว่าผู้ถูกล่า