ในหลายประเทศ เช่น อังกฤษ อเมริกา กรีก สเปน ฯลฯ เชื่อว่าศุกร์ที่ ที่ 13 เป็นวันแห่งความโชคร้าย Black Fridays ซึ่งมีคำศัพท์เฉพาะที่เรียกคนที่กลัวหมายเลข 13 ว่า Paraskavedekatriaphobia ซึ่งมาจากภาษากรีก 3 คำคือ ศุกร์, สิบสาม และความกลัว
ทำไมต้องศุกร์ที่ 13
เริ่มจากวันศุกร์ ในวันศุกร์นั้นเป็นวันไม่ดีนัก จากประวัติศาสตร์ในพระคัมภีร์พบว่าพระเยซูถูกตรึงกางเขนในวันศุกร์, วันศุกร์เป็นวันที่อีฟ(ภรรยาของอาดัมมนุษย์คู่แรกของโลก)เอาผลไม้ต้องห้ามให้อาดัมกิน, การสังหารกันเองระหว่างลูกสองของของอีฟและอาดัมก็เกิดขึ้นในวันศุกร์ เช่นกันคือ อาเบลและคาอิน, ในโนอาห์ก็เกิดน้ำท่วมโลก ซึ่งเหตุผลทั้งหลายนี้ทำให้คริสเตียนส่วนหนึ่ง(อังกฤษ เยอรมัน โปแลนด์ โปตุเกส)มองว่าวันศุกร์เป็นวันที่ไม่ดี ส่วน 13 ที่มีความเชื่อว่าเป็นเลขอัปมงคลของฝรั่งนั้นความจริงยังไม่มีใครหาต้นตอเจอ แต่เลข 13 มีประวัติว่ามีความเกี่ยวข้องกับเรื่องโชคร้ายมายาวนาน ไล่ตั้งแต่ อาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซูร่วมเสวยกับสาวกมีคนร่วมรับประทานอาหารทั้งหมดรวมทั้งพระเยซูด้วยคือ 13 คน ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นผุ้ทรยศต่อพระองค์(The Last Supper)อีกกรณีหนึ่งเกิดขึ้นในยุโรปหลังสงครามครูเสดเป็นที่รวมศุกร์และวันที่ 13 ไว้รวมกัน เหตุการณ์วันนั้นเป็นการรวมบรรดาอัศวินที่ไปรบเพื่อศาสนากลับมาแล้วมีอำนาจมากจนทำให้ศาสนาจักรหาทางกำจัด ในปี ค.ศ.1307 ฝรั่งเศสสมัยกษัตริย์ฟิลิปที่ 4 เป็นวันทำการจับกุมอัศวินเหล่านั้นครั้งใหญ่ที่สุด ข้อหาเป็นคนนอกรีตซึ่งเป็นข้อหารุนแรงมากในขณะนั้น หลายคน ถูกนำตัวไปทรมานและสังหาร เพื่อนำทรัพย์สินของพวกเขามาเป็นของฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังมีความเชื่อของชาวนอร์เวย์เชื่อว่าเลข 13 เป็นเลขอัปมงคลเนื่องจากตามตำนานของพวกเขาเล่าถึงเกี่ยวกับเทพ 12 องค์ มารวมกันจัดงานเลี้ยงในห้องโถงของเอกีร์ เทพแห่งมหาสมุทร จู่ๆ มีเทพที่ไม่รับเชิญคือ เทพแห่งไฟที่ชื่อ โลกิ เข้ามางานเลี้ยง และไม่เพียงบุกเข้าไปเท่านั้นยังใช้ธนูยิงเทพบาล์เดอร์ เทพแห่งความสุข จนบาลเดอร์สิ้นลมหายใจตายไปในทันที ทำให้โลกต้องตกอยู่ในความมืดมิดและความเศร้าสลดไปทุกหนแห่งศตวรรษที่ 18 มีการบันทึกเอาไว้ว่า ชาวอังกฤษเชื่อกันว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่คน 13 มานั่งทานอาหารร่วมโต๊ะเดียวกันแล้ว คนที่ลุกจากโต๊ะไปเป็นคนแรกจะเป็นคนแรกที่ต้องตาย นอกจากนี้ผู้เชี่ยวชาญยังบอกอีกว่า คนทั่วไปเชื่อว่าเลขที่ 123 เป็นเลขไม่ดีนั้นมาจากความเชื่อว่าเลข 12 เป็นเลขที่สมบูรณ์นั้นเอง เช่นหนึ่งปีมี 12 เดือน,ราศีมี 12 ราศี, เทพเจ้ากรีกมี 12 องค์, ชนเผ่าอิสราเอลมี 12 ชนเผ่า และเลข 13 คือเลขที่บ่งบอกถึงความไม่ลงตัวเหมือนเลข 12 ทำให้เลข 13 จึงเป้นส่วนเหินเสมอ ความนี้มาดูเรื่องจริงบ้าง จากประวัติศาสตร์เราพบว่ามีเหตุการณ์ไม่ดีในประวัติศาสตร์อยู่เยอะ ที่เกี่ยวข้องกับศุกร์ที่ 13 และนี้คือส่วนหนึ่งของเหตุการณ์ที่ว่านั้น
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ. 1869 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ในสหรัฐอเมริกา
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1929 ตลาดหุ้นอเมริกาล่ม
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1939 เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ในประเทศออสเตรเลีย
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1945 เกิดสงคราทางอากาศครั้งสำคัญในนอร์เวย์,ฮอลลีวูดเกิดการประท้วงของสหภาพแรงงานในโรงถ่ายภาพยนต์วอร์เนอร์ การประท้วงลุกลามและรุนแรงจนเกิดการนองเลือดขึ้น
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ. 1970 เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ พายุกระหน่ำมายังประเทศบังคลาเทศมีผู้เสียชีวิตและทรัพย์สินจำนวนมาก
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1978 เกิดการสังหารหมู่ในอิหร่าน
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1982 อาร์เจนติน่ายกกองกำลังยึดเกาะฟอร์คแลนด์ซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1989 บริษัทคอมพิวเตอร์ IBM เสียหายอย่างหนักเพราะโดยไวรัสคอมพิวเตอร์โจมตีระบบ
วันศุกร์ ที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2006 พายุหิมะชื่อ Aphid พัดถล่มเมืองบัฟฟาโล่ รัฐนิวยอร์ค
วันศุกร์ ที่ 13 เมษายน 2007 เกิดทอร์นาโดหลายลูกพร้อมกันในทางเหนือของเท็กซัส
ในวางสารการแพทย์ของอังกฤษฉบับตีพิมพ์ ค.ศ.1993 รายงานว่าวันศุกร์ที่ 13 จะมีอุบัติเหตุทางการจราจรมากกว่าวันอื่นๆ ถึง 50 กว่าเปอร์เซ็นต์
นอกจากนี้ยังมีเหตุการณ์ร้ายที่เกิดขึ้นในโครงการอพอลโล 13 ของนาซ่า แม้ไม่เกิดขึ้นในวันศุกร์ก็เถอะ ยายอวกาศถูกปล่อยจากโลกถึงดวงจันทร์เมื่อวันที่ 11 เมษายน ค.ศ.1970 ก็เริ่มเกิดเหตุขัดข้องหลังจากยานเดินทางออกไปพ้นจากแรงดึงดูดของโลกแล้วสองวัน ทำให้ถังเก็บออกซิเจนกับระบบไฟฟ้าหลักที่เรียกว่า Sarvice Module เสียหายอย่างหนักจนต้องสละส่วนนั้นทิ้งไป คงเหลือแต่ยานควบคุมที่จะแล่นลงสู่ดวงจันทร์และนักบินอวกาศต้องเอาชีวิตรอดถึง 5 วันในการคอยจังหวะที่จะเดินทางกลับบ้าน และรอดตายอย่างปาฏิหาริย์และปลอดภัยทุกคน
นอกจากนี้นักจิตวิทยายังพบว่า มีผู้เชื่อถือและคิดว่าศุกร์ที่ 13 โชคร้ายมากถึง 17 ล้านคน ในเมืองแอชวิลล์ มลรัฐนอร์ทแคโรไลนา ประเมินว่าในแต่ละครั้งที่มีวันศุกร์ที่ 13 สหรัฐอเมริกาต้องสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นเงิน 800 – 900 ล้านเหรียญสหรัฐฯทีเดียว เพราะว่าประชาชนบางคนไม่กล้าเดินทางไปไหนและไม่กล้าแม้แต่จะไปทำงาน
9. Murder of Kitty Genovese
วันศุกร์ 13 มีนาคม 1964 ได้เกิดคดีฆาตกรรมเขย่าขวัญ คดีหนึ่งของโลกและการตั้งคำถามเกี่ยวกับน้ำใจของคนต่อการช่วยเหลือคนอื่นเวลามีเรื่องเดือดร้อน โดยเรื่องราวเกิดขึ้นเมื่อคิตตี เจนโนวีส</span> หญิงสาวอายุ 29 ปี ที่กำลังกลับบ้านเธอในเมืองควีนส์ นิวยอร์ก ได้ถูกคนร้ายแทงสามครั้ง พร้อมเสียงกรีดร้องขอความช่วยเหลือ “พระเจ้า เขาจะแทงฉัน” ผ่านสายตาคนที่ผ่านไปผ่านมาในนิว การ์เด้น ซึ่งมีผู้พบเห็นเหตุการณ์หลายคน แต่ที่น่าตกตะลึงก็คือไม่มีใครเลยที่จะโทรแจ้งตำรวจในขณะที่เห็นเหตุการณ์ แท้กระทั้งคนเข้าไปช่วยยังไม่มี จนกระทั้งมีพลเมืองดีคนเดียวเท่านั้นที่โทรศัพท์แจ้งตำรวจ แต่ก็เป็นหลังจากที่เกิดคดีนานถึงครึ่งชั่วโมง โดยเธอเสียชีวิตในขณะนำตัวส่งโรงพยาบาล (ส่วนคนร้ายถูกประหาร) ต่อมาประเด็นดังกล่าวได้กลายเป็นหัวข้อน้ำใจของคนที่ไม่ช่วยเหลือคนอื่นเวลาเดือดร้อน โดยคิดว่าแม้ตนไม่ช่วยก็จะมีคนอื่นไม่ช่วยเอง จึงทำให้ความรู้สึกอยากชวยน้อยลงไปด้วย จนกลายเป็นศัพท์จิตวิทยาพฤติกรรมของสังคมที่เรียกว่า การกระจายความรับผิดชอบ (diffusion of responsibility)ปรากฏการณ์คนมุงผู้ เพิกเฉยthe bystander effect “Genovese syndrome”)
8.The Royal Plaza Hotel
วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม 2536 ได้เกิดเหตุการณ์อุบัติเหตุตึกถล่มที่ร้ายแรงของประเทศไทยขึ้น เมื่อโรงแรมรอยัลพลาซ่า ในจังหวัดนครราชสีมา ของประเทศไทย ได้ถล่มลงมาส่งผลทำให้มีคนตายถึง 137 คนและบาดเจ็บ 227 คน โรงแรมรอยัลพลาซ่า เป็นหนึ่งในโรงแรมที่ดีที่สุดในเมืองนครราชสีมา ในวันนั้นโรงแรมมีการชัดงานประชุมใหญ่ที่มีครูและข้าราชการ อีกทั้งยังมีคนงานบริษัทน้ำมันมารวมตัวกัน และแล้วเวลาเวลา 10.10 น. อาการก็ทรุดตัวลงอย่างทรุดตัวอย่างรวดเร็วและใช้เวลา 10 วินาทีทำนั้นในการถล่มลงมาเบื้องล่สง สาเหตุเนื่องจากมีการต่อเติมอาคารจาก 3 ชั้น เป็น 6 ชั้น ทำให้เสาไม่สามารถรับน้ำหนักตัวอาคารได้และจากโครงสร้างของอาคารมีเสาตั้งอยู่บนคานโดยชิดแนบกับเสาอาคารเดิม ซึ่งเสาไม่ได้เชื่อมยึดติดกัน เมื่อเสาที่ตั้งอยู่บนคานรับน้ำหนักมากเกินไป ทำให้คานหลุดออกจากหัวเสาที่บริเวณชั้นสอง เป็นผลให้โครงสร้างอาคารบนหัวเสายุบตามและส่งแรงดึงรั้ง กระทบเสาต้นข้างเคียงหักล้มตาม ผลงานโศกนาฏกรรมดังกล่าวทำให้วิศวกรผู้ออกแบบชั้นเพิ่มเติมถูกจับกุมและตัดสินจำคุก ส่วนหน่วยงานปลอดภัยที่ประเมินสภาพโรงแรมถูกยึดสินบน และเรื่องได้ถูกทำทบทวนเรื่องการติดสินบนและการก่อสร้างอาคารหลายแห่งในประเทศไทย ซึ่งตอนนั้นนายก ชวนหลีกภัยได้ตั้งข้อสังเกตว่า “มันดูเหมือนว่าเราคนไทยไม่เคารพกฎระเบียบนี้ส่งผลทำให้เกิดปัญหาตามมาบ่อยครั้ง
7. Uphaar Cinema Fire
วันศุกร์ 13 มิถุนายน 1995ได้เกิดไฟไหม้โรงภาพยนตร์ ในนิวเดลี ซึ่งเวลานั้นโรงละครอัดแน่นไปด้วยฝูงชนที่เข้ามาดูภาพยนตร์ “ชายแดน” หากแต่แล้วเวลาประมาณห้าโมงหม้อแปลงไฟฟ้าในบริเวณที่จอดรถซึ่งอยู่ชั้นใต้ดินของโรงภาพยนตร์ได้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรขึ้น และประกายไฟได้ไปทั่วน้ำมันของรถจนเกิดไฟไหม้โรงภาพยนตร์อย่างรวดเร็ว อีกทั้งไฟไหม้ยังกระจายไปยังอาคารที่อยู่รอบๆ ส่งผลทำให้เหยื่อไฟไหม้ที่เป็นส่วนใหญ่ถูกขังอยู่บนระเบียงไม่สามารถหนีออกมาตายเสียชีวิต และบางส่วนถูกฝูงชนอัดทับที่ต่างวิ่งหนีตาย ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวมีผู้เสียชีวิตถึง 59 คน และบาดเจ็บอีก 103 คน ถือว่าเป็นโศกนาฏกรรมไฟไหม้ที่รุนแรงอีกเหตุการณ์หนึ่งในประเทศอินเดีย ต่อมาโรงภาพยนตร์ก็ถูกสั่งปิดเพราะไม่มีมาตราฐานความปลอดภัยซึ่งเคยเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวเมื่อ 14 ที่แล้วแต่ผู้รับผิดชอบก็ยังคงละเลยในการแก้ไข
6. Sam Patch
วันศุกร์ 13 พฤศจิกายน 1829 เป็นวันเสียชีวิตของแซม แพท ชาวอเมริกันคนแรกที่มีชื่อเสียงจากการแสดงบ้าบั่นจากการกระโดดลงแม่น้ำไนแองกาในปี 1829 ซึ่งก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็นกรรมกรและชื่นชอบการกระโดดลงจากที่สูงเสี่ยงตายหลายครั้งและรอดหมด จนชื่อเสียงของเขาเริ่มโด่งดัง จนฝูงชนต่างแห่มาดูเขาแสดงทุกครั้ง ในฤดูใบไม้ร่วงของปี 1829 เขาก็เริ่มมีชื่อเสียงจากการกระโดดลงไปแม่น้ำไนแองกา ซึ่งเขาได้โดดจากบันไดหลาย ลงไปแม้น้ำเบื้องล่าง แม้ว่าเวลานั้นจะมีอุปสรรค์เนื่องจากมีสภาพอากาศเลวร้ายและความล่าช้าแต่เขาประสบผลสำเร็จจากการแสดงดังกล่าว จงทำให้เขามีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ อย่างไรก็หลังจากนั้นไม่นานเขามีความคิดที่จะโดดลงแม่น้ำไนแองก้าอีกครั้ง เนื่องจากการแสดงครั้งล่าสุดได้สร้างความผิดหวังแก่ผู้ชมที่ซื้อตั๋ว คราวนี้เขาเพิ่มความสูงถึง 125 ฟุต และเมื่อถึงวันศุกร์ 13 พฤศจิกายน 1829 และเมื่อโดดลงน้ำ ร่างของเขาก็ไม่โผล่ขึ้นน้ำอีกเลย ตอนแรกหลายคนคิดว่าเขาคงซ่อนตัวอยู่ในถ้ำใต้น้ำ แต่ความจริงแล้วมันไม่ใช่ ร่างของเขาไม่โผล่พ้นน้ำเลยหลังจากนั้น จนกระทั้งพบศพของเขาในสภาพถูกแช่งแข็งในฤดูใบไม้ผลิถัดมา
9 อันดับเหตุการณ์ในศุกร์ 13 ฝันหวาน
ทำไมต้องศุกร์ที่ 13
เริ่มจากวันศุกร์ ในวันศุกร์นั้นเป็นวันไม่ดีนัก จากประวัติศาสตร์ในพระคัมภีร์พบว่าพระเยซูถูกตรึงกางเขนในวันศุกร์, วันศุกร์เป็นวันที่อีฟ(ภรรยาของอาดัมมนุษย์คู่แรกของโลก)เอาผลไม้ต้องห้ามให้อาดัมกิน, การสังหารกันเองระหว่างลูกสองของของอีฟและอาดัมก็เกิดขึ้นในวันศุกร์ เช่นกันคือ อาเบลและคาอิน, ในโนอาห์ก็เกิดน้ำท่วมโลก ซึ่งเหตุผลทั้งหลายนี้ทำให้คริสเตียนส่วนหนึ่ง(อังกฤษ เยอรมัน โปแลนด์ โปตุเกส)มองว่าวันศุกร์เป็นวันที่ไม่ดี ส่วน 13 ที่มีความเชื่อว่าเป็นเลขอัปมงคลของฝรั่งนั้นความจริงยังไม่มีใครหาต้นตอเจอ แต่เลข 13 มีประวัติว่ามีความเกี่ยวข้องกับเรื่องโชคร้ายมายาวนาน ไล่ตั้งแต่ อาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซูร่วมเสวยกับสาวกมีคนร่วมรับประทานอาหารทั้งหมดรวมทั้งพระเยซูด้วยคือ 13 คน ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นผุ้ทรยศต่อพระองค์(The Last Supper)อีกกรณีหนึ่งเกิดขึ้นในยุโรปหลังสงครามครูเสดเป็นที่รวมศุกร์และวันที่ 13 ไว้รวมกัน เหตุการณ์วันนั้นเป็นการรวมบรรดาอัศวินที่ไปรบเพื่อศาสนากลับมาแล้วมีอำนาจมากจนทำให้ศาสนาจักรหาทางกำจัด ในปี ค.ศ.1307 ฝรั่งเศสสมัยกษัตริย์ฟิลิปที่ 4 เป็นวันทำการจับกุมอัศวินเหล่านั้นครั้งใหญ่ที่สุด ข้อหาเป็นคนนอกรีตซึ่งเป็นข้อหารุนแรงมากในขณะนั้น หลายคน ถูกนำตัวไปทรมานและสังหาร เพื่อนำทรัพย์สินของพวกเขามาเป็นของฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังมีความเชื่อของชาวนอร์เวย์เชื่อว่าเลข 13 เป็นเลขอัปมงคลเนื่องจากตามตำนานของพวกเขาเล่าถึงเกี่ยวกับเทพ 12 องค์ มารวมกันจัดงานเลี้ยงในห้องโถงของเอกีร์ เทพแห่งมหาสมุทร จู่ๆ มีเทพที่ไม่รับเชิญคือ เทพแห่งไฟที่ชื่อ โลกิ เข้ามางานเลี้ยง และไม่เพียงบุกเข้าไปเท่านั้นยังใช้ธนูยิงเทพบาล์เดอร์ เทพแห่งความสุข จนบาลเดอร์สิ้นลมหายใจตายไปในทันที ทำให้โลกต้องตกอยู่ในความมืดมิดและความเศร้าสลดไปทุกหนแห่งศตวรรษที่ 18 มีการบันทึกเอาไว้ว่า ชาวอังกฤษเชื่อกันว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่คน 13 มานั่งทานอาหารร่วมโต๊ะเดียวกันแล้ว คนที่ลุกจากโต๊ะไปเป็นคนแรกจะเป็นคนแรกที่ต้องตาย นอกจากนี้ผู้เชี่ยวชาญยังบอกอีกว่า คนทั่วไปเชื่อว่าเลขที่ 123 เป็นเลขไม่ดีนั้นมาจากความเชื่อว่าเลข 12 เป็นเลขที่สมบูรณ์นั้นเอง เช่นหนึ่งปีมี 12 เดือน,ราศีมี 12 ราศี, เทพเจ้ากรีกมี 12 องค์, ชนเผ่าอิสราเอลมี 12 ชนเผ่า และเลข 13 คือเลขที่บ่งบอกถึงความไม่ลงตัวเหมือนเลข 12 ทำให้เลข 13 จึงเป้นส่วนเหินเสมอ ความนี้มาดูเรื่องจริงบ้าง จากประวัติศาสตร์เราพบว่ามีเหตุการณ์ไม่ดีในประวัติศาสตร์อยู่เยอะ ที่เกี่ยวข้องกับศุกร์ที่ 13 และนี้คือส่วนหนึ่งของเหตุการณ์ที่ว่านั้น
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ. 1869 เกิดวิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ในสหรัฐอเมริกา
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1929 ตลาดหุ้นอเมริกาล่ม
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1939 เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ในประเทศออสเตรเลีย
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1945 เกิดสงคราทางอากาศครั้งสำคัญในนอร์เวย์,ฮอลลีวูดเกิดการประท้วงของสหภาพแรงงานในโรงถ่ายภาพยนต์วอร์เนอร์ การประท้วงลุกลามและรุนแรงจนเกิดการนองเลือดขึ้น
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ. 1970 เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ พายุกระหน่ำมายังประเทศบังคลาเทศมีผู้เสียชีวิตและทรัพย์สินจำนวนมาก
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1978 เกิดการสังหารหมู่ในอิหร่าน
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1982 อาร์เจนติน่ายกกองกำลังยึดเกาะฟอร์คแลนด์ซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ
วันศุกร์ ที่ 13 ปี ค.ศ.1989 บริษัทคอมพิวเตอร์ IBM เสียหายอย่างหนักเพราะโดยไวรัสคอมพิวเตอร์โจมตีระบบ
วันศุกร์ ที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 2006 พายุหิมะชื่อ Aphid พัดถล่มเมืองบัฟฟาโล่ รัฐนิวยอร์ค
วันศุกร์ ที่ 13 เมษายน 2007 เกิดทอร์นาโดหลายลูกพร้อมกันในทางเหนือของเท็กซัส
ในวางสารการแพทย์ของอังกฤษฉบับตีพิมพ์ ค.ศ.1993 รายงานว่าวันศุกร์ที่ 13 จะมีอุบัติเหตุทางการจราจรมากกว่าวันอื่นๆ ถึง 50 กว่าเปอร์เซ็นต์
นอกจากนี้ยังมีเหตุการณ์ร้ายที่เกิดขึ้นในโครงการอพอลโล 13 ของนาซ่า แม้ไม่เกิดขึ้นในวันศุกร์ก็เถอะ ยายอวกาศถูกปล่อยจากโลกถึงดวงจันทร์เมื่อวันที่ 11 เมษายน ค.ศ.1970 ก็เริ่มเกิดเหตุขัดข้องหลังจากยานเดินทางออกไปพ้นจากแรงดึงดูดของโลกแล้วสองวัน ทำให้ถังเก็บออกซิเจนกับระบบไฟฟ้าหลักที่เรียกว่า Sarvice Module เสียหายอย่างหนักจนต้องสละส่วนนั้นทิ้งไป คงเหลือแต่ยานควบคุมที่จะแล่นลงสู่ดวงจันทร์และนักบินอวกาศต้องเอาชีวิตรอดถึง 5 วันในการคอยจังหวะที่จะเดินทางกลับบ้าน และรอดตายอย่างปาฏิหาริย์และปลอดภัยทุกคน
นอกจากนี้นักจิตวิทยายังพบว่า มีผู้เชื่อถือและคิดว่าศุกร์ที่ 13 โชคร้ายมากถึง 17 ล้านคน ในเมืองแอชวิลล์ มลรัฐนอร์ทแคโรไลนา ประเมินว่าในแต่ละครั้งที่มีวันศุกร์ที่ 13 สหรัฐอเมริกาต้องสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็นเงิน 800 – 900 ล้านเหรียญสหรัฐฯทีเดียว เพราะว่าประชาชนบางคนไม่กล้าเดินทางไปไหนและไม่กล้าแม้แต่จะไปทำงาน
9. Murder of Kitty Genovese
วันศุกร์ 13 มีนาคม 1964 ได้เกิดคดีฆาตกรรมเขย่าขวัญ คดีหนึ่งของโลกและการตั้งคำถามเกี่ยวกับน้ำใจของคนต่อการช่วยเหลือคนอื่นเวลามีเรื่องเดือดร้อน โดยเรื่องราวเกิดขึ้นเมื่อคิตตี เจนโนวีส</span> หญิงสาวอายุ 29 ปี ที่กำลังกลับบ้านเธอในเมืองควีนส์ นิวยอร์ก ได้ถูกคนร้ายแทงสามครั้ง พร้อมเสียงกรีดร้องขอความช่วยเหลือ “พระเจ้า เขาจะแทงฉัน” ผ่านสายตาคนที่ผ่านไปผ่านมาในนิว การ์เด้น ซึ่งมีผู้พบเห็นเหตุการณ์หลายคน แต่ที่น่าตกตะลึงก็คือไม่มีใครเลยที่จะโทรแจ้งตำรวจในขณะที่เห็นเหตุการณ์ แท้กระทั้งคนเข้าไปช่วยยังไม่มี จนกระทั้งมีพลเมืองดีคนเดียวเท่านั้นที่โทรศัพท์แจ้งตำรวจ แต่ก็เป็นหลังจากที่เกิดคดีนานถึงครึ่งชั่วโมง โดยเธอเสียชีวิตในขณะนำตัวส่งโรงพยาบาล (ส่วนคนร้ายถูกประหาร) ต่อมาประเด็นดังกล่าวได้กลายเป็นหัวข้อน้ำใจของคนที่ไม่ช่วยเหลือคนอื่นเวลาเดือดร้อน โดยคิดว่าแม้ตนไม่ช่วยก็จะมีคนอื่นไม่ช่วยเอง จึงทำให้ความรู้สึกอยากชวยน้อยลงไปด้วย จนกลายเป็นศัพท์จิตวิทยาพฤติกรรมของสังคมที่เรียกว่า การกระจายความรับผิดชอบ (diffusion of responsibility)ปรากฏการณ์คนมุงผู้ เพิกเฉยthe bystander effect “Genovese syndrome”)
8.The Royal Plaza Hotel
วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม 2536 ได้เกิดเหตุการณ์อุบัติเหตุตึกถล่มที่ร้ายแรงของประเทศไทยขึ้น เมื่อโรงแรมรอยัลพลาซ่า ในจังหวัดนครราชสีมา ของประเทศไทย ได้ถล่มลงมาส่งผลทำให้มีคนตายถึง 137 คนและบาดเจ็บ 227 คน โรงแรมรอยัลพลาซ่า เป็นหนึ่งในโรงแรมที่ดีที่สุดในเมืองนครราชสีมา ในวันนั้นโรงแรมมีการชัดงานประชุมใหญ่ที่มีครูและข้าราชการ อีกทั้งยังมีคนงานบริษัทน้ำมันมารวมตัวกัน และแล้วเวลาเวลา 10.10 น. อาการก็ทรุดตัวลงอย่างทรุดตัวอย่างรวดเร็วและใช้เวลา 10 วินาทีทำนั้นในการถล่มลงมาเบื้องล่สง สาเหตุเนื่องจากมีการต่อเติมอาคารจาก 3 ชั้น เป็น 6 ชั้น ทำให้เสาไม่สามารถรับน้ำหนักตัวอาคารได้และจากโครงสร้างของอาคารมีเสาตั้งอยู่บนคานโดยชิดแนบกับเสาอาคารเดิม ซึ่งเสาไม่ได้เชื่อมยึดติดกัน เมื่อเสาที่ตั้งอยู่บนคานรับน้ำหนักมากเกินไป ทำให้คานหลุดออกจากหัวเสาที่บริเวณชั้นสอง เป็นผลให้โครงสร้างอาคารบนหัวเสายุบตามและส่งแรงดึงรั้ง กระทบเสาต้นข้างเคียงหักล้มตาม ผลงานโศกนาฏกรรมดังกล่าวทำให้วิศวกรผู้ออกแบบชั้นเพิ่มเติมถูกจับกุมและตัดสินจำคุก ส่วนหน่วยงานปลอดภัยที่ประเมินสภาพโรงแรมถูกยึดสินบน และเรื่องได้ถูกทำทบทวนเรื่องการติดสินบนและการก่อสร้างอาคารหลายแห่งในประเทศไทย ซึ่งตอนนั้นนายก ชวนหลีกภัยได้ตั้งข้อสังเกตว่า “มันดูเหมือนว่าเราคนไทยไม่เคารพกฎระเบียบนี้ส่งผลทำให้เกิดปัญหาตามมาบ่อยครั้ง
7. Uphaar Cinema Fire
วันศุกร์ 13 มิถุนายน 1995ได้เกิดไฟไหม้โรงภาพยนตร์ ในนิวเดลี ซึ่งเวลานั้นโรงละครอัดแน่นไปด้วยฝูงชนที่เข้ามาดูภาพยนตร์ “ชายแดน” หากแต่แล้วเวลาประมาณห้าโมงหม้อแปลงไฟฟ้าในบริเวณที่จอดรถซึ่งอยู่ชั้นใต้ดินของโรงภาพยนตร์ได้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรขึ้น และประกายไฟได้ไปทั่วน้ำมันของรถจนเกิดไฟไหม้โรงภาพยนตร์อย่างรวดเร็ว อีกทั้งไฟไหม้ยังกระจายไปยังอาคารที่อยู่รอบๆ ส่งผลทำให้เหยื่อไฟไหม้ที่เป็นส่วนใหญ่ถูกขังอยู่บนระเบียงไม่สามารถหนีออกมาตายเสียชีวิต และบางส่วนถูกฝูงชนอัดทับที่ต่างวิ่งหนีตาย ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวมีผู้เสียชีวิตถึง 59 คน และบาดเจ็บอีก 103 คน ถือว่าเป็นโศกนาฏกรรมไฟไหม้ที่รุนแรงอีกเหตุการณ์หนึ่งในประเทศอินเดีย ต่อมาโรงภาพยนตร์ก็ถูกสั่งปิดเพราะไม่มีมาตราฐานความปลอดภัยซึ่งเคยเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวเมื่อ 14 ที่แล้วแต่ผู้รับผิดชอบก็ยังคงละเลยในการแก้ไข
6. Sam Patch
วันศุกร์ 13 พฤศจิกายน 1829 เป็นวันเสียชีวิตของแซม แพท ชาวอเมริกันคนแรกที่มีชื่อเสียงจากการแสดงบ้าบั่นจากการกระโดดลงแม่น้ำไนแองกาในปี 1829 ซึ่งก่อนหน้านั้นเขาเคยเป็นกรรมกรและชื่นชอบการกระโดดลงจากที่สูงเสี่ยงตายหลายครั้งและรอดหมด จนชื่อเสียงของเขาเริ่มโด่งดัง จนฝูงชนต่างแห่มาดูเขาแสดงทุกครั้ง ในฤดูใบไม้ร่วงของปี 1829 เขาก็เริ่มมีชื่อเสียงจากการกระโดดลงไปแม่น้ำไนแองกา ซึ่งเขาได้โดดจากบันไดหลาย ลงไปแม้น้ำเบื้องล่าง แม้ว่าเวลานั้นจะมีอุปสรรค์เนื่องจากมีสภาพอากาศเลวร้ายและความล่าช้าแต่เขาประสบผลสำเร็จจากการแสดงดังกล่าว จงทำให้เขามีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ อย่างไรก็หลังจากนั้นไม่นานเขามีความคิดที่จะโดดลงแม่น้ำไนแองก้าอีกครั้ง เนื่องจากการแสดงครั้งล่าสุดได้สร้างความผิดหวังแก่ผู้ชมที่ซื้อตั๋ว คราวนี้เขาเพิ่มความสูงถึง 125 ฟุต และเมื่อถึงวันศุกร์ 13 พฤศจิกายน 1829 และเมื่อโดดลงน้ำ ร่างของเขาก็ไม่โผล่ขึ้นน้ำอีกเลย ตอนแรกหลายคนคิดว่าเขาคงซ่อนตัวอยู่ในถ้ำใต้น้ำ แต่ความจริงแล้วมันไม่ใช่ ร่างของเขาไม่โผล่พ้นน้ำเลยหลังจากนั้น จนกระทั้งพบศพของเขาในสภาพถูกแช่งแข็งในฤดูใบไม้ผลิถัดมา