ThaiRath (มิสแซฟไฟร์ : ยุทธศาสตร์_ซุนวู) : ยุทธศาสตร์ รบ 100ครั้ง ชนะ 100ครั้ง
ถ้าพูดถึงตำรายุทธศาสตร์การทหาร ที่เก่าแก่ที่สุดของโลก ต้องยกให้
ตำราพิชัยสงคราม ของ..
ซุนวู เขียนขึ้นเมื่อราว 600ปี_ก่อนคริสตกาล โดย “ซุนวู” นักยุทธศาสตร์การทหารคนสำคัญของจีน ในยุคจ้านกว๋อ ซึ่งไม่เพียงจะวางรากฐานการกำหนดยุทธศาสตร์ทางการทหาร ทั้งในโลกตะวันออก&ตะวันตก แต่ยังมีอิทธิพลต่อ การวางกลยุทธ์เชิงธุรกิจ&การจัดการด้วย , ถือเป็นบุคคลแรกๆ ที่ตระหนักในความสำคัญ ของ..
การปรับตำแหน่ง ทาง..
ยุทธศาสตร์ เพื่อให้สามารถตอบสนองข้าศึกได้รวดเร็วทันสถานการณ์ที่สุด ทั้ง เชิงรุก&เชิงรับ
ตำราพิชัยสงคราม ของซุนวู
แปลเป็นภาษาฝรั่งเศสครั้งแรก เมื่อปี 1,782 โดย “บาทหลวงฌอง โชแซฟท์ มารี อามีโอต์” จากศาสนาคริสต์นิกายเยซูอิต , สำหรับประเทศไทย มีการแปลเป็นภาษาไทย หลายVersion ซึ่ง Version แพร่หลายเป็นที่รู้จักกว้างขวางคือ ฉบับแปลโดย เสถียร วีรสกุล , บุญศักดิ์ แสงระวี & พิชัย วาศนาส่ง
เนื้อหา หลักๆ ในตำราพิชัยสงครามของซุนวู มีอยู่ 13บท
แต่ละบท เน้นยุทธศาสตร์ในแต่ละมุม ของการสู้ศึกสงคราม ประกอบด้วย..
1) การประเมินสถานการณ์ , 2) การวางแผน , 3) ยุทธศาสตร์ การรบ&รุก
4) ท่าที , 5) กำลังพล , 6) ความอ่อนแอ - เข้มแข็ง
7) การดำเนินกลยุทธ์ , 8) สิ่งผันแปร 9ประการ , 9) การเดินทัพ
10) ภูมิประเทศ , 11) พื้นที่ต่างกัน 9อย่าง , 12) การโจมตีด้วยไฟ
13). การใช้สายลับ
ยุทธศาสตร์ของซุนวู ที่โด่งดังเป็นที่รู้จัก คือ.. “รบ 100ครั้ง ชนะ 100ครั้ง”
โดย “ซุนวู” กล่าวไว้ว่า.. ในการรบ ถ้ารู้จักวางแผนอย่างดี มีสิทธิจะ รบ 100ครั้ง ชนะทุก 100ครั้ง เฉกเช่นเดียวกับ..
สิงโต เพราะเมื่อใด สิงโตไม่สามารถล่าเหยื่อได้ ก็จะไม่ฝืนออกล่าเหยื่อ , ในการสงครามก็เช่นกัน หากเรารู้กำลังของกองทัพเราเอง + รู้ความสามารถของแม่ทัพ & กองทหารของฝ่ายเรา โอกาสที่จะรบชนะ ก็มีครึ่งหนึ่ง(1/2) , ตรงกันข้าม หากเรารู้กำลังความสามารถของข้าศึกด้วย โอกาส รบ 100ครั้ง ชนะ 100ครั้ง ก็ย่อมอยู่.. แค่เอื้อม , เมื่อใดที่ออกรบแล้ว แม่ทัพไม่รู้กำลังของตัวเอง ไม่ว่าจะรบกี่ครั้ง ย่อมมีแต่.. " แพ้กับแพ้ "
อีก 1ยุทธศาสตร์ ที่แยบยล ของซุนวู คือ.. “ตีใกล้แสร้งไกล ตีไกลแสร้งใกล้”
ซุนวู กล่าวไว้ว่า.. เมื่อใดที่เราจะรุกโจมตี เมืองที่ห่างไกลออกไป จงหลอกล่อข้าศึกว่า เราจะโจมตีเมืองอื่นที่อยู่ใกล้ เพื่อให้ศัตรูตายใจไหวตัวไม่ทัน & นำชัยชนะ มาสู่กองทัพของเรา
“จงสู้รบให้เหมือนเป็นส่วนหนึ่ง ของธรรมชาติ” นับเป็นกลยุทธ์ลึกซึ้ง ที่ใช้ได้ผล ทุกยุค_ทุกสมัย , จงบุกให้เหมือน “ไฟ” ที่โหมกระหน่ำ จน ทุกสิ่ง.. “มอดไหม้” VS. จงตั้งรับ อย่าง.. “ภูผา” นิ่งสงบ จนศัตรูจับความเคลื่อนไหวไม่ได้
& จงเคลื่อนทัพอย่างรวดเร็ว ไม่ทิ้งร่องรอยใดๆ เฉกเช่น.. “สายลม”
5ปัจจัยสำคัญ ที่นำกองทัพ สู่.. ชัยชนะ
“ซุนวู” กล่าวไว้ว่า.. ต้องรู้ว่า เมื่อใด ควรรบ&ไม่ควรรบ , รู้จักการออมกำลัง , แม่ทัพกับพลทหาร ต้องเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน , วางแผน&เตรียมการอย่างดี & มีขุนพลเก่งฉกาจ ไม่ถูกแทรกแซง จากผู้ปกครอง
ซุนวู ยังเผยกลยุทธ์.. " ขั้นเทพ " ในการอ่านใจศัตรู ว่า..
- ยามที่ข้าศึกขอเจรจาสงบศึก หมายถึง.. ข้าศึก กำลัง.. คิดอุบาย !
- เมื่อกำลังข้าศึก กึ่งหนึ่งรุก อีกกึ่งหนึ่งถอย หมายถึง.. ข้าศึกพยายามใช้กลลวง
- เมื่อถึงที รุกได้ แต่ไม่รุก หมายถึง.. ทหารข้าศึก หมดกำลัง
- เมื่อฝูงนกบินว่อน อยู่เหนือค่ายข้าศึก หมายถึง.. ค่ายว่างเปล่า
- เมื่อทหาร จับกลุ่มย่อย กระซิบ_กระซาบ หมายถึง.. หมดความไว้วางใจแม่ทัพ !
- การปูนบำเหน็จรางวัล บ่อยเกินไป แสดงว่า.. แม่ทัพกำลังหมดหนทาง
- การลงโทษบ่อยเกินไป หมายถึง.. แม่ทัพกำลังสับสน
เมื่อ ผู้นำ (ผู้ปกครอง) ที่.. โง่เขลา_เบาปัญญา
ย่อมสร้างความสับสนงงงวย แก่.. บ้านเมือง & นำไปสู่ ความพ่ายแพ้ราบคาบ !
*** ซุนวู : กลยุทธ์.. " ขั้นเทพ "
ถ้าพูดถึงตำรายุทธศาสตร์การทหาร ที่เก่าแก่ที่สุดของโลก ต้องยกให้ ตำราพิชัยสงคราม ของ.. ซุนวู เขียนขึ้นเมื่อราว 600ปี_ก่อนคริสตกาล โดย “ซุนวู” นักยุทธศาสตร์การทหารคนสำคัญของจีน ในยุคจ้านกว๋อ ซึ่งไม่เพียงจะวางรากฐานการกำหนดยุทธศาสตร์ทางการทหาร ทั้งในโลกตะวันออก&ตะวันตก แต่ยังมีอิทธิพลต่อ การวางกลยุทธ์เชิงธุรกิจ&การจัดการด้วย , ถือเป็นบุคคลแรกๆ ที่ตระหนักในความสำคัญ ของ.. การปรับตำแหน่ง ทาง.. ยุทธศาสตร์ เพื่อให้สามารถตอบสนองข้าศึกได้รวดเร็วทันสถานการณ์ที่สุด ทั้ง เชิงรุก&เชิงรับ
ตำราพิชัยสงคราม ของซุนวู
แปลเป็นภาษาฝรั่งเศสครั้งแรก เมื่อปี 1,782 โดย “บาทหลวงฌอง โชแซฟท์ มารี อามีโอต์” จากศาสนาคริสต์นิกายเยซูอิต , สำหรับประเทศไทย มีการแปลเป็นภาษาไทย หลายVersion ซึ่ง Version แพร่หลายเป็นที่รู้จักกว้างขวางคือ ฉบับแปลโดย เสถียร วีรสกุล , บุญศักดิ์ แสงระวี & พิชัย วาศนาส่ง
เนื้อหา หลักๆ ในตำราพิชัยสงครามของซุนวู มีอยู่ 13บท
แต่ละบท เน้นยุทธศาสตร์ในแต่ละมุม ของการสู้ศึกสงคราม ประกอบด้วย..
1) การประเมินสถานการณ์ , 2) การวางแผน , 3) ยุทธศาสตร์ การรบ&รุก
4) ท่าที , 5) กำลังพล , 6) ความอ่อนแอ - เข้มแข็ง
7) การดำเนินกลยุทธ์ , 8) สิ่งผันแปร 9ประการ , 9) การเดินทัพ
10) ภูมิประเทศ , 11) พื้นที่ต่างกัน 9อย่าง , 12) การโจมตีด้วยไฟ
13). การใช้สายลับ
ยุทธศาสตร์ของซุนวู ที่โด่งดังเป็นที่รู้จัก คือ.. “รบ 100ครั้ง ชนะ 100ครั้ง”
โดย “ซุนวู” กล่าวไว้ว่า.. ในการรบ ถ้ารู้จักวางแผนอย่างดี มีสิทธิจะ รบ 100ครั้ง ชนะทุก 100ครั้ง เฉกเช่นเดียวกับ.. สิงโต เพราะเมื่อใด สิงโตไม่สามารถล่าเหยื่อได้ ก็จะไม่ฝืนออกล่าเหยื่อ , ในการสงครามก็เช่นกัน หากเรารู้กำลังของกองทัพเราเอง + รู้ความสามารถของแม่ทัพ & กองทหารของฝ่ายเรา โอกาสที่จะรบชนะ ก็มีครึ่งหนึ่ง(1/2) , ตรงกันข้าม หากเรารู้กำลังความสามารถของข้าศึกด้วย โอกาส รบ 100ครั้ง ชนะ 100ครั้ง ก็ย่อมอยู่.. แค่เอื้อม , เมื่อใดที่ออกรบแล้ว แม่ทัพไม่รู้กำลังของตัวเอง ไม่ว่าจะรบกี่ครั้ง ย่อมมีแต่.. " แพ้กับแพ้ "
อีก 1ยุทธศาสตร์ ที่แยบยล ของซุนวู คือ.. “ตีใกล้แสร้งไกล ตีไกลแสร้งใกล้”
ซุนวู กล่าวไว้ว่า.. เมื่อใดที่เราจะรุกโจมตี เมืองที่ห่างไกลออกไป จงหลอกล่อข้าศึกว่า เราจะโจมตีเมืองอื่นที่อยู่ใกล้ เพื่อให้ศัตรูตายใจไหวตัวไม่ทัน & นำชัยชนะ มาสู่กองทัพของเรา
“จงสู้รบให้เหมือนเป็นส่วนหนึ่ง ของธรรมชาติ” นับเป็นกลยุทธ์ลึกซึ้ง ที่ใช้ได้ผล ทุกยุค_ทุกสมัย , จงบุกให้เหมือน “ไฟ” ที่โหมกระหน่ำ จน ทุกสิ่ง.. “มอดไหม้” VS. จงตั้งรับ อย่าง.. “ภูผา” นิ่งสงบ จนศัตรูจับความเคลื่อนไหวไม่ได้ & จงเคลื่อนทัพอย่างรวดเร็ว ไม่ทิ้งร่องรอยใดๆ เฉกเช่น.. “สายลม”
5ปัจจัยสำคัญ ที่นำกองทัพ สู่.. ชัยชนะ
“ซุนวู” กล่าวไว้ว่า.. ต้องรู้ว่า เมื่อใด ควรรบ&ไม่ควรรบ , รู้จักการออมกำลัง , แม่ทัพกับพลทหาร ต้องเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน , วางแผน&เตรียมการอย่างดี & มีขุนพลเก่งฉกาจ ไม่ถูกแทรกแซง จากผู้ปกครอง
ซุนวู ยังเผยกลยุทธ์.. " ขั้นเทพ " ในการอ่านใจศัตรู ว่า..
- ยามที่ข้าศึกขอเจรจาสงบศึก หมายถึง.. ข้าศึก กำลัง.. คิดอุบาย !
- เมื่อกำลังข้าศึก กึ่งหนึ่งรุก อีกกึ่งหนึ่งถอย หมายถึง.. ข้าศึกพยายามใช้กลลวง
- เมื่อถึงที รุกได้ แต่ไม่รุก หมายถึง.. ทหารข้าศึก หมดกำลัง
- เมื่อฝูงนกบินว่อน อยู่เหนือค่ายข้าศึก หมายถึง.. ค่ายว่างเปล่า
- เมื่อทหาร จับกลุ่มย่อย กระซิบ_กระซาบ หมายถึง.. หมดความไว้วางใจแม่ทัพ !
- การปูนบำเหน็จรางวัล บ่อยเกินไป แสดงว่า.. แม่ทัพกำลังหมดหนทาง
- การลงโทษบ่อยเกินไป หมายถึง.. แม่ทัพกำลังสับสน
เมื่อ ผู้นำ (ผู้ปกครอง) ที่.. โง่เขลา_เบาปัญญา
ย่อมสร้างความสับสนงงงวย แก่.. บ้านเมือง & นำไปสู่ ความพ่ายแพ้ราบคาบ !