********เปิดประวัติที่ดิน จุฬา**********
ที่ดินจุฬา เป็นของ ร.5 มอบให้พระสนม และเปิดให้เอกชนเช่าพื้นที่ ต่อมาพระสนมทยอยจากไปจนหมด ร.6 ทรงมอบที่ดินให้สร้างมหาลัยโดยใช้เงินที่เรี่ยรายที่เหลือการสร้าง พระบรมรูปทรงม้า
ม.จุฬาจึงได้สร้าง ม.จุฬา
จนกระทั้ง 2479 พ.อ.หลวงพิบูลย์สงคราม (จอมพลป.).{ดำรงตำแหน่ง อธิการบดีจุฬา} ได้ขอที่ดินและยกหนี้สินทั้งหมด จากผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน {ขณะนั่น ร 8 ทรงพระเยาว์ } ให้ ม.จุฬา
แต่ผู้สำเร็จราชการ พิจารณาแล้วเห็นว่าที่ดินผืนนี้ได้ทรงทำพินัยกรรมไว้ไม่สามารถโอนให้กับผู้ใดได้ จึงได้ตอบปฏิเสธไป และก็มีการพยายามขออีก 2-3 ครั้งแต่ก็ไม่สำเร็จเช่นเดิม
.ปีพ.ศ.2482 อธิการบดีคนใหม่ คือ จอมพลป.พิบูลย์สงคราม (นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น)ได้เสนอร่างพ.ร.บ.โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ให้กับจุฬาฯ กับสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 3 ต.ค.2482 และมีการแปรญัตติเสร็จภายใน 1 วัน และ เมื่อวันที่ 7 ต.ค.2482 ได้มีการร่างพ.ร.บ.ในวาระ2 และ3 เห็นควรให้ออกเป็น พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์ให้กับ จุฬาฯ(ตามประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 56 หน้า 1364 วันที่ 30 ตุลาคม 2482)
ต่อมาเมื่อจุฬาได้ที่ดิน ก็เปิดให้ เอกชนมาเช่า ห้าง มาบุญครองขอเช่า 30 ปี ได้ในราคาเช่าพิเศษ แต่เมื่อครบ30ปีแล้วมาบุญครองก็จะตกเป็นของจุฬาฯ ทำให้ จุฬาได้กำไรมหาศาล
ด้วยเหตุนี้เอง เมื่อทางราชพัสดุทราบถึงผลประโยชน์นี้ ก็ได้ทวงที่ดินคืน เพราะสมัยนั้นมีกฎหมายที่ออกมาให้ที่ดินของพระมหากษัตริย์ ต้องถูกเวนคืนมาเป็นที่ราชพัสดุทำให้ฟ้องร้องกันอยู่นาน
ก่อนหน้าจะเกิดคดี สมเด็จพระเทพฯได้เสด็จฯมาเยี่ยมเยือนสถานเสาวภา และได้ทรงให้จุฬาฯคืนที่ดินที่ทางสถานเสาวภาฝากไว้กับจุฬาฯ.
เพราะจุฬาฯได้อ้างว่า ทำไมตอนจุฬาฯตรา พรบ.คืนที่ดินให้สถานเสาวภา ทางราชพัสดุจึงมิได้โต้แย้งใดๆว่าจุฬาฯไม่ใช่ผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน จึงไม่มีอำนาจที่จะทำเช่นนั่น และในที่สุดจุฬาฯก็ชนะคดี
หมายเหตุ...ปีพ.ศ.2522 สถานเสาวภาได้ทวงที่ดินคืนจากจุฬาฯได้สำเร็จ ซึ่งจุฬาฯเคยกล่าวอ้างว่าเสาวภาได้เช่าที่ดินของจุฬาฯเช่นกัน จนกระทั่งสถานเสาวภาได้ทวงสิทธิ์อันชอบธรรมจนสำเร็จแม้จะใช้เวลายาวนานถึง 40 ปีก็ตาม
สรุปถ้า ถ้าพระเทพไม่ทรงขอที่ดินจากจุฬา ให้ สถานเสาวภา ก่อนเกิดคดี ที่ดินนี้ต้องคืนให้ กษัตย์ไปแล้ว ตามที่ควรจะเป็น
***ทำให้ประชาชนมองว่ามันคือการโกงที่ดิน{ตั้งแต่สมัย จอมพล ป แล้ว} แต่ ถูกต้องตามกฎหมาย***
ให้ไปหาอ่านในหนังสือชุมนุมจุฬาฯ วันที่ 23 ต.ค.2513 เรื่อง “ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินของจุฬาฯ” เขียนโดยผ.ศ.บุญวัจน์ วีสกุล และเรื่อง “ทักท้วงประวัติจุฬาฯ” เขียนโดยขจร สุขพานิช ซึ่งทั้ง 2 ท่านคืออาจารย์ของจุฬาฯเอง ซึ่งในตอนท้ายบทความได้มีการเขียนไว้ว่า “ผู้เขียนเองทราบเรื่องนี้มาหลายปีแล้ว และก็รักษาความเป็นจริงไว้ในห้องมืดไม่แพร่งพราย จวบจนจอมพลป.พิบูลย์สงคราม ผู้เนรมิตในเรื่องโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินแปลงนี้ได้ล่วงลับไปแล้ว”
https://www.facebook.com/YoungEngineerInThai/posts/560889377263090
@@@ นิสิตจุฬา รู้หรือไม่ว่า ที่ดิน ???@@@( DRAMA หน่อยๆครับ)
ที่ดินจุฬา เป็นของ ร.5 มอบให้พระสนม และเปิดให้เอกชนเช่าพื้นที่ ต่อมาพระสนมทยอยจากไปจนหมด ร.6 ทรงมอบที่ดินให้สร้างมหาลัยโดยใช้เงินที่เรี่ยรายที่เหลือการสร้าง พระบรมรูปทรงม้า
ม.จุฬาจึงได้สร้าง ม.จุฬา
จนกระทั้ง 2479 พ.อ.หลวงพิบูลย์สงคราม (จอมพลป.).{ดำรงตำแหน่ง อธิการบดีจุฬา} ได้ขอที่ดินและยกหนี้สินทั้งหมด จากผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน {ขณะนั่น ร 8 ทรงพระเยาว์ } ให้ ม.จุฬา
แต่ผู้สำเร็จราชการ พิจารณาแล้วเห็นว่าที่ดินผืนนี้ได้ทรงทำพินัยกรรมไว้ไม่สามารถโอนให้กับผู้ใดได้ จึงได้ตอบปฏิเสธไป และก็มีการพยายามขออีก 2-3 ครั้งแต่ก็ไม่สำเร็จเช่นเดิม
.ปีพ.ศ.2482 อธิการบดีคนใหม่ คือ จอมพลป.พิบูลย์สงคราม (นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น)ได้เสนอร่างพ.ร.บ.โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ให้กับจุฬาฯ กับสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 3 ต.ค.2482 และมีการแปรญัตติเสร็จภายใน 1 วัน และ เมื่อวันที่ 7 ต.ค.2482 ได้มีการร่างพ.ร.บ.ในวาระ2 และ3 เห็นควรให้ออกเป็น พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์ให้กับ จุฬาฯ(ตามประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 56 หน้า 1364 วันที่ 30 ตุลาคม 2482)
ต่อมาเมื่อจุฬาได้ที่ดิน ก็เปิดให้ เอกชนมาเช่า ห้าง มาบุญครองขอเช่า 30 ปี ได้ในราคาเช่าพิเศษ แต่เมื่อครบ30ปีแล้วมาบุญครองก็จะตกเป็นของจุฬาฯ ทำให้ จุฬาได้กำไรมหาศาล
ด้วยเหตุนี้เอง เมื่อทางราชพัสดุทราบถึงผลประโยชน์นี้ ก็ได้ทวงที่ดินคืน เพราะสมัยนั้นมีกฎหมายที่ออกมาให้ที่ดินของพระมหากษัตริย์ ต้องถูกเวนคืนมาเป็นที่ราชพัสดุทำให้ฟ้องร้องกันอยู่นาน
ก่อนหน้าจะเกิดคดี สมเด็จพระเทพฯได้เสด็จฯมาเยี่ยมเยือนสถานเสาวภา และได้ทรงให้จุฬาฯคืนที่ดินที่ทางสถานเสาวภาฝากไว้กับจุฬาฯ.
เพราะจุฬาฯได้อ้างว่า ทำไมตอนจุฬาฯตรา พรบ.คืนที่ดินให้สถานเสาวภา ทางราชพัสดุจึงมิได้โต้แย้งใดๆว่าจุฬาฯไม่ใช่ผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน จึงไม่มีอำนาจที่จะทำเช่นนั่น และในที่สุดจุฬาฯก็ชนะคดี
หมายเหตุ...ปีพ.ศ.2522 สถานเสาวภาได้ทวงที่ดินคืนจากจุฬาฯได้สำเร็จ ซึ่งจุฬาฯเคยกล่าวอ้างว่าเสาวภาได้เช่าที่ดินของจุฬาฯเช่นกัน จนกระทั่งสถานเสาวภาได้ทวงสิทธิ์อันชอบธรรมจนสำเร็จแม้จะใช้เวลายาวนานถึง 40 ปีก็ตาม
สรุปถ้า ถ้าพระเทพไม่ทรงขอที่ดินจากจุฬา ให้ สถานเสาวภา ก่อนเกิดคดี ที่ดินนี้ต้องคืนให้ กษัตย์ไปแล้ว ตามที่ควรจะเป็น
***ทำให้ประชาชนมองว่ามันคือการโกงที่ดิน{ตั้งแต่สมัย จอมพล ป แล้ว} แต่ ถูกต้องตามกฎหมาย***
ให้ไปหาอ่านในหนังสือชุมนุมจุฬาฯ วันที่ 23 ต.ค.2513 เรื่อง “ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินของจุฬาฯ” เขียนโดยผ.ศ.บุญวัจน์ วีสกุล และเรื่อง “ทักท้วงประวัติจุฬาฯ” เขียนโดยขจร สุขพานิช ซึ่งทั้ง 2 ท่านคืออาจารย์ของจุฬาฯเอง ซึ่งในตอนท้ายบทความได้มีการเขียนไว้ว่า “ผู้เขียนเองทราบเรื่องนี้มาหลายปีแล้ว และก็รักษาความเป็นจริงไว้ในห้องมืดไม่แพร่งพราย จวบจนจอมพลป.พิบูลย์สงคราม ผู้เนรมิตในเรื่องโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินแปลงนี้ได้ล่วงลับไปแล้ว”
https://www.facebook.com/YoungEngineerInThai/posts/560889377263090