สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 6
หากท่านเป็นมือใหม่เหมือนผม ผมขอแนะนำให้มาที่ เทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเบื้องต้น เพื่อขยายพันธุ์พืชทางอุตสาหกรรม หลักสูตร 4 วัน ราคา 3,500 บาท
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
Kasetsart Agricultural and Agro-Industrial Product Improvement Institute (KAPI)
อาคารปฏิบัติการวิจัยกลาง และอาคารอุตสาหกรรมเกษตร 3 ชั้น 7-8 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10903
ผมเรียนจบจากที่นี้ครับ จบแล้วกลับมาทำที่บ้านได้ทำเป็นแน่นอน แถมอาจารย์บอกว่าหากลูกศิษย์ทำแล้วติดปัญหาสามารถกลับไปถามอาจารย์ได้ด้วยครับ (แถมไม่คิดเงิน)
เนื้อหาที่เรียนคร่าวๆ (มีปฏิบัติให้ทำทุกคน)
- หลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
- อาหารสำหรับเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
- การขยายพันธุ์ด้วยเทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (เรียนและปฏิบัติทำเป็นตั้งเริ่มจนถึงเพาะเลี้ยงสู่สภาวะธรรมชาติ)
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชใช้ระบบ TIB (Temporary Immersion Bioreactor) เรียนและปฏิบัติได้จับของจริง
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ (อันนี้ผมสนใจมาก อยากสร้างกล้วยไม้สีแปลกๆเป็นของเราเอง)
ผมชอบที่นี้เพราะอาจารย์ได้แนะนำมือใหม่ ว่าไม่ต้องลงทุนสูงเหมือนพวกมืออาชีพหรือห้อง LAB เพราะอาจารย์ยุพา ปานแก้ว ท่านได้คิดประดิษฐ์ตู้สำหรับถ่ายเนื้อเยื่อให้สามารถกลับมาทำเองและใช้งานได้จริงที่บ้านได้ และท่านยังได้ พัฒนาระบบ TIB (Temporary Immersion Bioreactor) ให้มีราคาถูกที่ใช้งานได้จริงและหากผู้ผ่านการอบรมสนใจ สามรถซื้อในทุนแค่ชุดละพันกว่าบาทเท่านั้น)
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
Kasetsart Agricultural and Agro-Industrial Product Improvement Institute (KAPI)
อาคารปฏิบัติการวิจัยกลาง และอาคารอุตสาหกรรมเกษตร 3 ชั้น 7-8 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10903
ผมเรียนจบจากที่นี้ครับ จบแล้วกลับมาทำที่บ้านได้ทำเป็นแน่นอน แถมอาจารย์บอกว่าหากลูกศิษย์ทำแล้วติดปัญหาสามารถกลับไปถามอาจารย์ได้ด้วยครับ (แถมไม่คิดเงิน)
เนื้อหาที่เรียนคร่าวๆ (มีปฏิบัติให้ทำทุกคน)
- หลักการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
- อาหารสำหรับเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
- การขยายพันธุ์ด้วยเทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (เรียนและปฏิบัติทำเป็นตั้งเริ่มจนถึงเพาะเลี้ยงสู่สภาวะธรรมชาติ)
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชใช้ระบบ TIB (Temporary Immersion Bioreactor) เรียนและปฏิบัติได้จับของจริง
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ (อันนี้ผมสนใจมาก อยากสร้างกล้วยไม้สีแปลกๆเป็นของเราเอง)
ผมชอบที่นี้เพราะอาจารย์ได้แนะนำมือใหม่ ว่าไม่ต้องลงทุนสูงเหมือนพวกมืออาชีพหรือห้อง LAB เพราะอาจารย์ยุพา ปานแก้ว ท่านได้คิดประดิษฐ์ตู้สำหรับถ่ายเนื้อเยื่อให้สามารถกลับมาทำเองและใช้งานได้จริงที่บ้านได้ และท่านยังได้ พัฒนาระบบ TIB (Temporary Immersion Bioreactor) ให้มีราคาถูกที่ใช้งานได้จริงและหากผู้ผ่านการอบรมสนใจ สามรถซื้อในทุนแค่ชุดละพันกว่าบาทเท่านั้น)
แสดงความคิดเห็น
อยากเรียน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พืช ครับ เรียนที่ไหนดี
จะใช้ปลูก ไผ่ ไม้ดอก เห็ด และ พืชหลายๆชนิดที่ตอนไม่ไ้ดครับ