เริ่มต้นของความไม่โปร่งใส ในของการทำ EHIA เขื่อนแม่วงก์ ฉบับล่าสุด 2556
เริ่มต้อนจาก EIA
ในการสร้างเขื่อนแม่วงก์ มีการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมมาตั้งกะ ปี 2537 - 2554 โดยคณะกรรมการผู้ชำนาณการพิเศษ ใด้ พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ไปแล้วรวม 10 ครั้ง และใด้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมไปแล้วจำนวน 4 ครั้ง
จนมาถึง EHIA ฉบับแรกปี 2555
ในวันที่ 12 ธ.ค. 2555 คณะกรรมการผู้ชำนาณการด้านพัฒนาการแหล่งน้ำใด้ มีมติ ตีกลับรายงาน EHIA ฉบับนี้ ให้มีการศึกษาเพิ่มเติม 11 ประเด็นหลัก
1. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2. การเลือกพื้นที่หัวงาน 3. อุทกวิทยา และ น้ำใต้ดิน
4. ทรัพยากรป่าไม้ 5. นิเวศวิทยาทางน้ำ 6. การประมง 7. การบริหารจัดการอุทธยาน
8. การท่องเที่ยวและการพักผ่อนหย่อนใจ 9. ผลกระทบด้านสุขภาพ
10. สภาพเศรษฐกิจสังคม 11. ส่วนร่วมของประชาชน
EHIA ฉบับที่ 2
ในวันที่ 26 ก.ค. 2556 คณะกรรมการผู้ชำนาณการด้านพัฒนาการแหล่งน้ำใด้ มีมติ ตีกลับรายงาน EHIA ฉบับนี้ ให้มีการศึกษาเพิ่มเติม 7 ประเด็นหลัก
1. เศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม 2. ข้อมูลแผลที่ 3. ทรัพยากรป่าไม้
4. ทรัพยากรสัตว์ป่า 5. การบริหารการจัดการอุทยาน 6. การท่องเที่ยว 7. สภาพเศรษฐกิจ
ซึ่ง EHIA ที่ทำโดยกรมชลประทานทั้ง 2 ฉบับนั้น ไม่ผ่านซักฉบับ จนกระทั่ง ความไม่โปร่งใส ปรากฎ
"ปลอดประสพ"ฉีกทิ้งรายงานอีเอชไอเอเขื่อนแม่วงก์ฉบับกรมชลประทาน เผยเตรียมทำเองฉบับใหม่หลังเซ็นสัญญากับเอกชนปี 57
นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย (กบอ.) เปิดเผยกรณีปัญหาการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จ.นครสวรรค์ ซึ่งมีกลุ่มเอ็นจีโอคัดค้านรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (อีเอชไอเอ) เขื่อนแม่วงก์ ที่เสนอโดยกรมชลประทานและอยู่ในขั้นตอนการเข้าพิจารณาในคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาโครงการด้านแหล่งน้ำ (คชก.)ว่า ขณะนี้กบอ.มีแผนที่จะจัดทำรายงานอีเอชไอเอฉบับใหม่ของโครงการเขื่อนแม่วงก์ โดยจะเน้นการระบายน้ำท่วม เพราะฉบับของกรมชลประทานที่เคยทำมาก่อนหน้านี้จะเน้นเรื่องของการชลประทานเป็นหลัก ซึ่งคาดว่าจะสามารถเริ่มทำรายงานอีเอชไอเอฉบับใหม่ได้ทันที ที่การทำประชาพิจารณ์โครงการบริหารจัดการน้ำ 3.5 แสนล้านบาทเสร็จสิ้นในเดือนธ.ค.นี้ และมีการเซ็นสัญญากับเอกชนในช่วงเดือนก.พ.57
จนมาถึง อภิมหาความไม่โปร่งใส คือการเปลี่ยนตัวคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 2 คนออก
1 นายอุทิศ กุฏอินทร์
รศ.ดร. อุทิศ กุฏอินทร์ ที่ปรึกษาศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หนึ่งใน คณะกรรมการวิจัย EHIA ทั้ง 2 ฉบับก่อนหน้านี้ ผมขอยก 1 ในคำกล่าวอันน่าสนใจของอาจารย์ ที่เกิดขึ้นในคณะเกษตรศาสตร์ จัดเสวนาในหัวข้อ “คิดรอบด้านการเปลี่ยนแปลง”
" ป่าเต็งรังสามารถกักเก็บน้ำได้ดี ยกตัวอย่างเช่น อุทยานแห่งชาติห้วยขาแข้ง มีป่าเต็งรัง แต่ลำห้วยต่างๆก็สามารถมีน้ำจากธรรมชาติไหลอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะเป็นหน้าร้อน น้ำก็ไม่เคยหยุดไหล ซึ่งสามารถบ่งบอกได้ว่า ป่าเต็งรัง มีประโยชน์เพราะสามารถกักเก็บน้ำได้ หากมีการเปลี่ยนป่าไม้จริง ก็จะส่งผลกระทบกับระบบนิเวศ ไม่ว่าจะเป็นไม้เต็งรัง กล้วยไม้ต่างๆ หรือแม้กระทั่งสัตว์ป่า"
2. นายสมศักดิ์ โพธิสัตย์
ผู้เชี่ยวชาญกิติมศักดิ์ สาขาแร่ วท.บ. (สาขาธรณีวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2508-2511), M.A. (Earth Science), Wesleyan University, Connecticut, U.S.A. ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามคำสั่งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
เป็นที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ว่า ปัญหาการสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะเดินไปในทิศทางใดกันแน่
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
http://www.thairath.co.th/content/pol/369910
http://news.mthai.com/politics-news/274571.html
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/life/20130925/532356/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%89%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99EHIA%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%8C%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%A5.html
http://www.naewna.com/politic/columnist/8745
http://www.manager.co.th/travel/viewnews.aspx?NewsID=9550000093491
http://gst.or.th/content/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C
เปลี่ยนตัว คณะ กรรมการ EHIA โครงการเขื่อนแม่วงก์
เริ่มต้อนจาก EIA
ในการสร้างเขื่อนแม่วงก์ มีการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมมาตั้งกะ ปี 2537 - 2554 โดยคณะกรรมการผู้ชำนาณการพิเศษ ใด้ พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ไปแล้วรวม 10 ครั้ง และใด้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมไปแล้วจำนวน 4 ครั้ง
จนมาถึง EHIA ฉบับแรกปี 2555
ในวันที่ 12 ธ.ค. 2555 คณะกรรมการผู้ชำนาณการด้านพัฒนาการแหล่งน้ำใด้ มีมติ ตีกลับรายงาน EHIA ฉบับนี้ ให้มีการศึกษาเพิ่มเติม 11 ประเด็นหลัก
1. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2. การเลือกพื้นที่หัวงาน 3. อุทกวิทยา และ น้ำใต้ดิน
4. ทรัพยากรป่าไม้ 5. นิเวศวิทยาทางน้ำ 6. การประมง 7. การบริหารจัดการอุทธยาน
8. การท่องเที่ยวและการพักผ่อนหย่อนใจ 9. ผลกระทบด้านสุขภาพ
10. สภาพเศรษฐกิจสังคม 11. ส่วนร่วมของประชาชน
EHIA ฉบับที่ 2
ในวันที่ 26 ก.ค. 2556 คณะกรรมการผู้ชำนาณการด้านพัฒนาการแหล่งน้ำใด้ มีมติ ตีกลับรายงาน EHIA ฉบับนี้ ให้มีการศึกษาเพิ่มเติม 7 ประเด็นหลัก
1. เศรษฐศาสตร์และเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม 2. ข้อมูลแผลที่ 3. ทรัพยากรป่าไม้
4. ทรัพยากรสัตว์ป่า 5. การบริหารการจัดการอุทยาน 6. การท่องเที่ยว 7. สภาพเศรษฐกิจ
ซึ่ง EHIA ที่ทำโดยกรมชลประทานทั้ง 2 ฉบับนั้น ไม่ผ่านซักฉบับ จนกระทั่ง ความไม่โปร่งใส ปรากฎ
"ปลอดประสพ"ฉีกทิ้งรายงานอีเอชไอเอเขื่อนแม่วงก์ฉบับกรมชลประทาน เผยเตรียมทำเองฉบับใหม่หลังเซ็นสัญญากับเอกชนปี 57
นายปลอดประสพ สุรัสวดี รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย (กบอ.) เปิดเผยกรณีปัญหาการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จ.นครสวรรค์ ซึ่งมีกลุ่มเอ็นจีโอคัดค้านรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (อีเอชไอเอ) เขื่อนแม่วงก์ ที่เสนอโดยกรมชลประทานและอยู่ในขั้นตอนการเข้าพิจารณาในคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาโครงการด้านแหล่งน้ำ (คชก.)ว่า ขณะนี้กบอ.มีแผนที่จะจัดทำรายงานอีเอชไอเอฉบับใหม่ของโครงการเขื่อนแม่วงก์ โดยจะเน้นการระบายน้ำท่วม เพราะฉบับของกรมชลประทานที่เคยทำมาก่อนหน้านี้จะเน้นเรื่องของการชลประทานเป็นหลัก ซึ่งคาดว่าจะสามารถเริ่มทำรายงานอีเอชไอเอฉบับใหม่ได้ทันที ที่การทำประชาพิจารณ์โครงการบริหารจัดการน้ำ 3.5 แสนล้านบาทเสร็จสิ้นในเดือนธ.ค.นี้ และมีการเซ็นสัญญากับเอกชนในช่วงเดือนก.พ.57
จนมาถึง อภิมหาความไม่โปร่งใส คือการเปลี่ยนตัวคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 2 คนออก
1 นายอุทิศ กุฏอินทร์
รศ.ดร. อุทิศ กุฏอินทร์ ที่ปรึกษาศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หนึ่งใน คณะกรรมการวิจัย EHIA ทั้ง 2 ฉบับก่อนหน้านี้ ผมขอยก 1 ในคำกล่าวอันน่าสนใจของอาจารย์ ที่เกิดขึ้นในคณะเกษตรศาสตร์ จัดเสวนาในหัวข้อ “คิดรอบด้านการเปลี่ยนแปลง”
" ป่าเต็งรังสามารถกักเก็บน้ำได้ดี ยกตัวอย่างเช่น อุทยานแห่งชาติห้วยขาแข้ง มีป่าเต็งรัง แต่ลำห้วยต่างๆก็สามารถมีน้ำจากธรรมชาติไหลอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะเป็นหน้าร้อน น้ำก็ไม่เคยหยุดไหล ซึ่งสามารถบ่งบอกได้ว่า ป่าเต็งรัง มีประโยชน์เพราะสามารถกักเก็บน้ำได้ หากมีการเปลี่ยนป่าไม้จริง ก็จะส่งผลกระทบกับระบบนิเวศ ไม่ว่าจะเป็นไม้เต็งรัง กล้วยไม้ต่างๆ หรือแม้กระทั่งสัตว์ป่า"
2. นายสมศักดิ์ โพธิสัตย์
ผู้เชี่ยวชาญกิติมศักดิ์ สาขาแร่ วท.บ. (สาขาธรณีวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2508-2511), M.A. (Earth Science), Wesleyan University, Connecticut, U.S.A. ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามคำสั่งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
เป็นที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ว่า ปัญหาการสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะเดินไปในทิศทางใดกันแน่
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
http://www.thairath.co.th/content/pol/369910
http://news.mthai.com/politics-news/274571.html
http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/life/20130925/532356/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%9E%E0%B8%89%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99EHIA%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%8C%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%A5.html
http://www.naewna.com/politic/columnist/8745
http://www.manager.co.th/travel/viewnews.aspx?NewsID=9550000093491
http://gst.or.th/content/%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C-%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C