ได้ข้อมูลมาว่าบริเวณที่จะสร้างเขื่อนแม่วงก์ เดิมทีก็มีชาวบ้านเข้าไปหักล้างถางพงตั้งบ้านเรือนอยู่ก่อนแล้ว
แต่หลังจากการประกาศเป็นเขตอุทยานแม่วงก์ จึงมีการอพยพชาวบ้านแถวนั้นออกมา จนเกิดเป็นป่าอย่างในปัจจุบัน
ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของคนรักธรรมชาติ โดยจะมีเจ้าหน้าที่อุทยานพาเที่ยวเหมือนอุทยานทั่วๆไป
ลองใช้แผนที่ดูเถอะครับยังมีพื้นที่ที่ถูกชาวบ้านหักล้างถางพงรุกคืบเข้าไปในผืนป่าตะวันตกอีกมากมายโดยเฉพาะด้านตะวันตกของเทือกเขา
ทีนี้ถ้ามูลนิธิสืบเห็นด้วยกับการรักษาป่า มาใช้วิธีการที่เคยทำสำเร็จแล้วของอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ดีไหมครับ คือประกาศให้พื้นที่ที่ชาวบ้าน
หักล้างถางพงเข้าไปในผืนป่าเป็นเขตอนุรักษ์ของมูลนิธิและกำหนดเขตให้ชัดเจน ด้วยวิธีการซื้อคืนที่ดินเหล่านั้น (ราคาน่าจะไม่แพง) ซื้อด้วย
งบประมาณของมูลนิธิที่ได้มาปีละกว่า 17 ล้าน ลดขนาดองค์กรลง ลดการตั้งกรรมการโน่นนี่นั่น ลดการศึกษาวิจัยสเกลใหญ่ระดับชาติ-นานาชาติ
ที่อยู่บนหอคอยสัมผัสจริงไม่ได้ มาคอนเซนเทรตสิ่งที่สัมผัสได้ในพื้นที่รับผิดชอบของตัวเอง น่าจะมีเงินเหลือปีละไม่ต่ำกว่า 10 ล้าน เอามาซื้อที่คืน
ที่ดินเหล่านี้เพื่อความเป็นรูปธรรมของกิจกรรมมูลนิธิ
ป่าตะวันตกกับการจัดการ
แต่หลังจากการประกาศเป็นเขตอุทยานแม่วงก์ จึงมีการอพยพชาวบ้านแถวนั้นออกมา จนเกิดเป็นป่าอย่างในปัจจุบัน
ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของคนรักธรรมชาติ โดยจะมีเจ้าหน้าที่อุทยานพาเที่ยวเหมือนอุทยานทั่วๆไป
ลองใช้แผนที่ดูเถอะครับยังมีพื้นที่ที่ถูกชาวบ้านหักล้างถางพงรุกคืบเข้าไปในผืนป่าตะวันตกอีกมากมายโดยเฉพาะด้านตะวันตกของเทือกเขา
ทีนี้ถ้ามูลนิธิสืบเห็นด้วยกับการรักษาป่า มาใช้วิธีการที่เคยทำสำเร็จแล้วของอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ดีไหมครับ คือประกาศให้พื้นที่ที่ชาวบ้าน
หักล้างถางพงเข้าไปในผืนป่าเป็นเขตอนุรักษ์ของมูลนิธิและกำหนดเขตให้ชัดเจน ด้วยวิธีการซื้อคืนที่ดินเหล่านั้น (ราคาน่าจะไม่แพง) ซื้อด้วย
งบประมาณของมูลนิธิที่ได้มาปีละกว่า 17 ล้าน ลดขนาดองค์กรลง ลดการตั้งกรรมการโน่นนี่นั่น ลดการศึกษาวิจัยสเกลใหญ่ระดับชาติ-นานาชาติ
ที่อยู่บนหอคอยสัมผัสจริงไม่ได้ มาคอนเซนเทรตสิ่งที่สัมผัสได้ในพื้นที่รับผิดชอบของตัวเอง น่าจะมีเงินเหลือปีละไม่ต่ำกว่า 10 ล้าน เอามาซื้อที่คืน
ที่ดินเหล่านี้เพื่อความเป็นรูปธรรมของกิจกรรมมูลนิธิ