คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
Mathupayat Buddha is a cross-legged sitting Buddha image with both hands extending forward to receive alms of Mathupayat sweet rice porridge. Some Mathupayat Buddha images are in a sitting position with legs extending downward. Mathupayat Buddha is categorized as a sitting Buddha image.
Legend of Mathupayat Buddha
On the morning of Visakha Day of the full moon of the sixth lunar month which was the 35th birthday anniversary of Lord Buddha, Suchada, daughter of a tycoon of Tambon Uruwerasenanikhom, carried Mathupayat sweet rice porridge on a golden tray to offer alms to banyan tree Deva (male angel) for granting boon. She saw the Lord Buddha sitting underneath the banyan tree with aura radiating out. Thinking that the Lord Buddha was the banyan tree Deva, Suchada offered alms of Mathupayat together with the golden tray. The Lord Buddha extended both hands to receive alms. Thus was the legend of Mathupayat Buddha image.
Legend of Mathupayat Buddha
On the morning of Visakha Day of the full moon of the sixth lunar month which was the 35th birthday anniversary of Lord Buddha, Suchada, daughter of a tycoon of Tambon Uruwerasenanikhom, carried Mathupayat sweet rice porridge on a golden tray to offer alms to banyan tree Deva (male angel) for granting boon. She saw the Lord Buddha sitting underneath the banyan tree with aura radiating out. Thinking that the Lord Buddha was the banyan tree Deva, Suchada offered alms of Mathupayat together with the golden tray. The Lord Buddha extended both hands to receive alms. Thus was the legend of Mathupayat Buddha image.
แสดงความคิดเห็น
รบกวนช่วยแปลจากไทยเป็นภาษาอังกฤษให้ด้วยน่ะค่ะ
ขอบพระคุณอย่างยิ่งนะค่ะที่ช่วยเหลือ
พระพุทธรูปปางรับมธุปายาส พระพุทธรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับ ( นั่ง ) ขัดสมาธิ
แบพระหัตถ์ทั้งสองยื่นออกไปข้างหน้า เป็นกิริยารับถาดข้าวมธุปายาส
บางแบบอยู่ในพระอิริยาบถนั่งห้อยพระบาท พระพุทธรูปเป็นลักษณะปางนั่ง
พระพุทธรูปปางรับมธุปายาส และความเป็นมาของ พระพุทธรูป ปางรับมธุปายาส
ในเช้าวันเพ็ญวิสาขะ หรือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ( ปีระกา ) อันเป็นวันครบรอบพระชนมายุ ๓๕ พรรษา
ของพระบรมโพธิสัตว์ นางสุชาดาธิดาของเศรษฐีผู้หนึ่ง แห่งตำบลอุรุเวลาเสนานิคม
ได้นำถาดทองคำบรรจุข้าวมธุปายาส มาแก้บนต่อรุกขเทวดาที่ต้นไทรใหญ่
ครั้นแลเห็นพระบรมโพธิสัตว์ประทับ ณ โคนต้นไทร
ทรงรัศมีออกจากพระวรกายแผ่ซ่านไปทั่วปริมณฑล เข้าใจว่าเป็นรุกขเทวดา
จึงนำข้าวมธุปายาสไปถวายพร้อมกับถาดทองคำ
พระองค์ทรงแบพระหัตถ์ทั้งสองออกรับถาดข้าวมธุปายาส ปางรับมธุปายาส พระพุทธรูปปางต่างๆของไทย