คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 65
กลับมาอ่านตอนเย็น ปาเข้าไป 64 คห ผมอ่านไม่หมด แต่จะขอพูดเพิ่มเติม จากกระทู้ เพราะเห็น ทั้งหว้ากอ ทั้ง พุทธศาสนา สนใจกะลา ว่ากะลาใครใหญ่กว่ากัน และ พยายามข่มอีกฝ่ายว่า เล็กกว่า
ขอเริ่มจากชาว หว้ากอ มี คห บางความเห็น บอก พุทธศาสนา สนใจในกะลา ในตัวเอง ผมจะบอกว่าการอนุมานแบบนั้น ไม่ถูกต้องนัก เพราะแม้แต่ วิทยาศาสตร์เอง คนที่ศึกษา เรื่อง เอกภพ ก็ใช้ว่าจะรู้มากกว่า คนศึกษาเรื่องอะตอม แล้วทำไมจึง มาอนุมานว่า ศึกษาเรื่อง สุขทุกข์ คือ กะลา มันจึงไม่จริงเลย ที่จะนำมาเปรียบเทียบแบบนี้
และถ้าจะมองให้กว้างขึ้น จะเห็นว่า วิทยาศาสตร์ ไม่ว่าจะศึกษา เรื่องต่างๆ ไม่ว่า ในอะตอมมีอะไร จนถึง เอกภพมีอะไร สุดท้าย ก็ศึกษาเพื่อความดับทุกข์ เพื่อความสุข เมื่อมองอย่างนี้แล้ว ผมว่า พุทธศาสนา ที่ศึกษาเรื่องนี้ เป็นการศึกษาเรื่องที่สำคัญที่สุดในชีวิตมนุษย์ มนุษย์เราไม่ว่า อยากจะสร้างยานอวกาศ ไปดวงจันท์ ย้อนเวลา สุดท้ายจริงๆ ก็ทำเพื่อความสุข หรือ ดับทุกข์ ฉะนั้น ถ้าผมจะพูดว่า คนเราอาจจะไม่ต้องการ ความรู้เกี่ยวกับ อะตอม ไม่ต้องการรู้ว่าเอกภพมีอะไร แต่ คนเราทุกคนต้องการความสุข พ้นทุกข์ เหมือนกัน
ยกตัวอย่าง นักวิทยาศาตร์ แห่ง ศตวรรษที่ 20 อัลเบริตไอสไตน์ พอหันมาศึกษา เรื่องความสุข ทุกข์ ก็ยังเอยคำพูดว่า
"จินตนาการสำคัญกว่าความรู" จริงๆแล้วถ้าให้ผมแปล น่าจะแปลว่า " อุปปาทานสำคัญกว่าความรู้ " จะถูกต้องกว่า ผมไม่รู้ว่าศัพท์ ในภาษา อังกฤษมีคำว่า อุปปาทาน ไหม หรือ ไอน์สไตล์ ไม่รู้จัก จะเห็นว่า แนวทางก็ จะสอดคล้องกับ พุทธ ใน ปฎิจสมุปบาท
หรือแม้แต่ โทมัสอัลวาเอดิสัน ที่มีคนถามเขาว่า ทำไมยังสร้างหลอดไฟ อยู่ ทั้งที่ทำผิดพลาดกว่า พันครั้ง เอดิสันตอบว่า "ผมไม่ได้ทำผิดพลาด ผมแค่ค้นพบ พันวิธี ที่สร้างหลอดไฟไม่ได้ " ซึ่งหลักคิดแบบนี้ ก็ สอดคล้อง กับ หลักคิดที่พระพุทธเจ้าใช้ ตรัสรู้
อิทิปปัจยตา คือ เพราะสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมีเพราะสิ่งนี้เกิดสิ่งนี้จึงเกิด การคิดพิจารณาแบบนี้ คือ การมองอะไรเป็น กระแสแห่งเหตุปัจจัย ไม่มองเป็นตัวตน ซึ่ง วิธีคิดแบบนี้ นักวิทยาศาตร์ ก็ใช้เป็นพื้นฐานในการคิด
แต่ก็จริงอยู่ ถ้าชาวหว้ากอ จะเข้าใจพุทธศาสนาผิด ว่าเป็นเรื่องของความเชื่อ ความงมงาย ความโง่ แบบไม่ลืมหูลืมตา ไม่ฟังใคร ไม่ใช้สมอง ไม่มีปัญญา เพราะ พุทธศาสนา ที่หว้ากอเห็น มันคือ สิ่งที่พราหมณ์ เอามาเคลือบไว้ โดยความต้องการ ของชนชั้นปกครองที่อยากให้ คนใต้ปกครองอยู่ในความโง่
ขอเริ่มจากชาว หว้ากอ มี คห บางความเห็น บอก พุทธศาสนา สนใจในกะลา ในตัวเอง ผมจะบอกว่าการอนุมานแบบนั้น ไม่ถูกต้องนัก เพราะแม้แต่ วิทยาศาสตร์เอง คนที่ศึกษา เรื่อง เอกภพ ก็ใช้ว่าจะรู้มากกว่า คนศึกษาเรื่องอะตอม แล้วทำไมจึง มาอนุมานว่า ศึกษาเรื่อง สุขทุกข์ คือ กะลา มันจึงไม่จริงเลย ที่จะนำมาเปรียบเทียบแบบนี้
และถ้าจะมองให้กว้างขึ้น จะเห็นว่า วิทยาศาสตร์ ไม่ว่าจะศึกษา เรื่องต่างๆ ไม่ว่า ในอะตอมมีอะไร จนถึง เอกภพมีอะไร สุดท้าย ก็ศึกษาเพื่อความดับทุกข์ เพื่อความสุข เมื่อมองอย่างนี้แล้ว ผมว่า พุทธศาสนา ที่ศึกษาเรื่องนี้ เป็นการศึกษาเรื่องที่สำคัญที่สุดในชีวิตมนุษย์ มนุษย์เราไม่ว่า อยากจะสร้างยานอวกาศ ไปดวงจันท์ ย้อนเวลา สุดท้ายจริงๆ ก็ทำเพื่อความสุข หรือ ดับทุกข์ ฉะนั้น ถ้าผมจะพูดว่า คนเราอาจจะไม่ต้องการ ความรู้เกี่ยวกับ อะตอม ไม่ต้องการรู้ว่าเอกภพมีอะไร แต่ คนเราทุกคนต้องการความสุข พ้นทุกข์ เหมือนกัน
ยกตัวอย่าง นักวิทยาศาตร์ แห่ง ศตวรรษที่ 20 อัลเบริตไอสไตน์ พอหันมาศึกษา เรื่องความสุข ทุกข์ ก็ยังเอยคำพูดว่า
"จินตนาการสำคัญกว่าความรู" จริงๆแล้วถ้าให้ผมแปล น่าจะแปลว่า " อุปปาทานสำคัญกว่าความรู้ " จะถูกต้องกว่า ผมไม่รู้ว่าศัพท์ ในภาษา อังกฤษมีคำว่า อุปปาทาน ไหม หรือ ไอน์สไตล์ ไม่รู้จัก จะเห็นว่า แนวทางก็ จะสอดคล้องกับ พุทธ ใน ปฎิจสมุปบาท
หรือแม้แต่ โทมัสอัลวาเอดิสัน ที่มีคนถามเขาว่า ทำไมยังสร้างหลอดไฟ อยู่ ทั้งที่ทำผิดพลาดกว่า พันครั้ง เอดิสันตอบว่า "ผมไม่ได้ทำผิดพลาด ผมแค่ค้นพบ พันวิธี ที่สร้างหลอดไฟไม่ได้ " ซึ่งหลักคิดแบบนี้ ก็ สอดคล้อง กับ หลักคิดที่พระพุทธเจ้าใช้ ตรัสรู้
อิทิปปัจยตา คือ เพราะสิ่งนี้มีสิ่งนี้จึงมีเพราะสิ่งนี้เกิดสิ่งนี้จึงเกิด การคิดพิจารณาแบบนี้ คือ การมองอะไรเป็น กระแสแห่งเหตุปัจจัย ไม่มองเป็นตัวตน ซึ่ง วิธีคิดแบบนี้ นักวิทยาศาตร์ ก็ใช้เป็นพื้นฐานในการคิด
แต่ก็จริงอยู่ ถ้าชาวหว้ากอ จะเข้าใจพุทธศาสนาผิด ว่าเป็นเรื่องของความเชื่อ ความงมงาย ความโง่ แบบไม่ลืมหูลืมตา ไม่ฟังใคร ไม่ใช้สมอง ไม่มีปัญญา เพราะ พุทธศาสนา ที่หว้ากอเห็น มันคือ สิ่งที่พราหมณ์ เอามาเคลือบไว้ โดยความต้องการ ของชนชั้นปกครองที่อยากให้ คนใต้ปกครองอยู่ในความโง่
แสดงความคิดเห็น
หว้ากอ หรือ ศาสนา ที่เป็นกบในกะลา
( แต่จะเข้ามาคุยเย็นๆนะ )
เห็น หว้ากอ บอกว่า ให้พิสูจณ์ เรื่อง จิต ว่า จิตคืออะไร จับต้องได้ไหม และ มีทางศาสนาท้ากลับให้ จับ พลังงานมาให้ดู ซึ่งทางหว้ากอเขาก็พิสูจณ์ได้ ทดลองให้ดูได้
ผมเลยอยากจะเสนอ ความเห็นแบบนี้ จิต นั้นมันพิสูจณ์ได้มีอยู่จริง เป็นของที่มีอยู่จริง ทดลองได้ ศึกษาได้ ค้นขว้าได้ ยก ตัวอย่างเรื่องเสียง หว้ากอสามารถพิสูจณ์ การมีอยู่ของเสียงได้ว่า เสียงมีความยาวคลื่นมีความถี่ เท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร แต่ ถ้าไม่มีจิต จะไม่มีทางรู้ได้เลยว่า เสียงนั้น เพราะ หรือ ไม่เพราะ ฉะนั้นจะมาบอกว่า จิตเป็นเรื่องที่ คิดเอาเอง นึกเอาเอง ไม่มีอยู่จริง มันจึงไม่ถูกต้อง เพราะ จิตมันพิสูจณ์ได้ มันมีอยู่ จริง และมันมีความเกี่ยวพันธ์ กับ ชีวิตอย่างมาก
( ถ้า หว้ากอจะเถียงไปว่า จิต มันแค่กระแสไฟในสมอง สั่งงาน เวลามีคลื่นมากระทบหู อย่างนั้น หว้ากอ ต้องพิสูจณ์ ด้วยการ สร้างกระแสไฟฟ้า แล้วเอามาส่งเข้าสมอง ให้รู้สึก เพราะให้ได้ แต่ถึงแม้ทำได้ ก็ยังมีเรื่องในฝันอีก ว่า เราได้ยินเสียงได้อย่างไรแม้หูเราไม่ได้กระทบกับคลื่นอากาศเลย อันนั้นก็เป็นเรื่องที่ว่ากันต่อไป แต่สรุปได้ว่า จิต มันมีอยู่จริง แต่ มันจะเป็นดวงๆ หรือ เป็น เส้นๆ ก็หาคำตอบกันเอาเอง )
แต่ ศาสนาพุทธ ศึกษา จิต ในแง่ที่เกี่ยวข้องกับ สุข ทุกข์ ว่าทำงานยังไง และ เกิดทุกข์ได้อย่างไร ดับทุกข์ได้อย่างไร ตามความเป็นจริง ( แต่ถ้ามีนักวิทยาศาสตร์ สร้างเครื่อง ที่ใช้ดับทุกข์ได้ ประมาณว่า ยิง คลื่นไฟฟ้า ใส่หัวแล้ว ไม่ทุกข์อีกเลย บนโลกที่ไม่เที่ยงและแน่นอนใบนี้ แบบนั้น พุทธศาสนา ก็ คงไม่จำเป็น )
สำหรับผม หว้ากอ จะเป็น กบในกะลา ทันทีที่จะเอาแต่สนใจ กับสิ่งที่พิสูจณ์ได้ ทางกายภาพ และ ปฎิเสธสิ่งที่พิสูจณ์ไม่ได้ทางกายภาพ ว่าไม่มีอยู่จริง ทั้งที่สิ่งนั้นสามารถ พิสูจณ์ได้ตามความเป็นจริง เช่น เรื่องของ จิต สุข ทุกข์ ซึ่ง นักวิทยาศาสตร์ แท้ๆ มุมมองต้องกว้าง เปิดรับ ความเป็นจริงทุกด้าน ไม่มีกรอบมีกะลา มาขวางกั้น ที่ พุทธศาสนา เห็นและเข้าใจกะลาใบนั้น ว่ามันคือ อีโก้ ( ตัวตน )
ส่วน ศาสนา ก็จะเป็น กบในกะลา เหมือนกัน ถ้าเอาแต่ใช้ความเชื่อ ไม่สนใจ ความเป็น จริงที่อยู่ตรงหน้า หมกหมุ่นแต่ในตำรา นึกเอาอย่างเดียว ใช้แต่ความเชื่อ ไม่มีความเข้าใจ ถ้าเป็นแบบนี้ ให้ชาวหว้ากอว่าเป็น กบ ใน กะลา ก็สมควรอยู่
ทั้งที่ พุทธ แปลว่า ความรู้ คือ ศาสนาแห่งความรู้ จะเรียก พุทธศาสนา เป็น วิทยาศาสตร์ สาขาหนึ่งก็ได้ ที่สนใจศึกษา ในเรื่องของความสุข ความทุกข์ ของชีวิต ซึ่งในความเห็นผม ถือว่า สำคัญที่สุดในชีวิต มากกว่าเครื่องบิน ยานอวกาศ