สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 1
http://www.thairath.co.th/column/pol/page1scoop/366513
--------------------------------------------------------------
"โต้ง"ชงยุบกองทุนเงินออม
ร.ท.หญิงสุณิสา เลิศภควัต รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. ว่า ที่ประชุมเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) กำหนดหลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบประเทศของประโยชน์ทดแทน ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทนของบุคคลซึ่งสมัครเป็นผู้ประกันตน (ฉบับที่..) พ.ศ.... ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง กล่าวว่า สาระสำคัญของร่างพ.ร.ฎ.ดังกล่าวเพื่อสนับสนุนการออมของกลุ่มแรงงานนอกระบบหรือผู้ประกอบอาชีพอิสระ และกลุ่มเกษียณอายุ โดยเพิ่มทางเลือกที่ 3 ในพ.ร.บ.ประกันสังคม คือให้สิทธิ์เงินบำนาญชราภาพแก่ผู้ประกันตนซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบ ซึ่งในระบบประกันสังคมมาตรา 40 มีหลักการจัดเก็บเงินสมทบจาก 2 ฝ่าย ได้แก่ ผู้ประกันตนและรัฐบาลในอัตราเดือนละ 200 บาท โดยผู้ประกันตนจ่าย 100 บาท และรัฐบาลสมทบ 100 บาท/เดือน
ทั้งนี้ จากนี้ไปตนจะเสนอยกเลิกพ.ร.บ.กองทุนเงินออมแห่งชาติ พ.ศ.2554 ต่อรัฐสภา ซึ่งเป็นประเด็นที่ฝ่ายค้านยื่นถอดถอนตนออกจากตำแหน่ง เพราะเห็นว่าพ.ร.บ.ดังกล่าวมีผลบังคับใช้มา 2 ปีแล้วตนไม่ยอมทำอะไร ซึ่งตนเห็นว่าการเพิ่มทางเลือกที่ 3 ในพ.ร.บ. ประกันสังคม เป็นวิธีการที่ดีกว่า
http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURObFkyOHdOVEkyTURZMU5nPT0=
http://www.thairath.co.th/column/pol/page1scoop/366513
--------------------------------------------------------------
"โต้ง"ชงยุบกองทุนเงินออม
ร.ท.หญิงสุณิสา เลิศภควัต รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. ว่า ที่ประชุมเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) กำหนดหลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบประเทศของประโยชน์ทดแทน ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทนของบุคคลซึ่งสมัครเป็นผู้ประกันตน (ฉบับที่..) พ.ศ.... ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง กล่าวว่า สาระสำคัญของร่างพ.ร.ฎ.ดังกล่าวเพื่อสนับสนุนการออมของกลุ่มแรงงานนอกระบบหรือผู้ประกอบอาชีพอิสระ และกลุ่มเกษียณอายุ โดยเพิ่มทางเลือกที่ 3 ในพ.ร.บ.ประกันสังคม คือให้สิทธิ์เงินบำนาญชราภาพแก่ผู้ประกันตนซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบ ซึ่งในระบบประกันสังคมมาตรา 40 มีหลักการจัดเก็บเงินสมทบจาก 2 ฝ่าย ได้แก่ ผู้ประกันตนและรัฐบาลในอัตราเดือนละ 200 บาท โดยผู้ประกันตนจ่าย 100 บาท และรัฐบาลสมทบ 100 บาท/เดือน
ทั้งนี้ จากนี้ไปตนจะเสนอยกเลิกพ.ร.บ.กองทุนเงินออมแห่งชาติ พ.ศ.2554 ต่อรัฐสภา ซึ่งเป็นประเด็นที่ฝ่ายค้านยื่นถอดถอนตนออกจากตำแหน่ง เพราะเห็นว่าพ.ร.บ.ดังกล่าวมีผลบังคับใช้มา 2 ปีแล้วตนไม่ยอมทำอะไร ซึ่งตนเห็นว่าการเพิ่มทางเลือกที่ 3 ในพ.ร.บ. ประกันสังคม เป็นวิธีการที่ดีกว่า
http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TURObFkyOHdOVEkyTURZMU5nPT0=
ความคิดเห็นที่ 11
มารู้จักกองทุนการออมแห่งชาติกันค่ะ
V
V
V
เพื่อส่งเสริมการออมของประชาชนและลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐในระยะยาว ในขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกปี ทำให้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และมีนายกรณ์ จาติกวณิช เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้มีการจัดตั้งกองทุนการออมตาม พ.ร.บ.กองทุนการออมแห่งชาติ พ.ศ.2554 ขึ้น ภายใต้กำกับการดูแลของกระทรวงการคลัง ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2554
เพื่อเป็นการส่งเสริมการออมสำหรับสมาชิกที่เป็นแรงงานนอกระบบกว่า 24.6 ล้านคน ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยังไม่มีระบบสวัสดิการรองรับในวัยเกษียณอายุ ทั้งนี้ กระทรวงการคลังได้จัดงานเปิดตัวกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2554
สาระสำคัญของกฎหมายกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) พ.ศ. 2554
(1) ผู้มีสิทธิเป็นสมาชิก กอช.
* เป็นบุคคลสัญชาติไทย
* อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปี บริบูรณ์
* ไม่เป็นสมาชิกของกองทุนเพื่อการชราภาพใดๆ ที่มีการสมทบเงินจากรัฐหรือนายจ้าง เช่น กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น กองทุนประกันสังคม (ซึ่งส่งเงินเพื่อได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เป็นต้น
(2) ตามบทเฉพาะกาลในกฎหมาย กำหนดให้ 1 ปีแรก เปิดรับสมาชิกภายใน (8 พฤษภาคม 2555 - 6 พฤษภาคม 2556) เปิดโอกาส ให้ผู้สูงอายุที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ที่ไม่อยู่ในระบบบำเหน็จบำนาญใดๆ สามารถออมต่อไปได้อีก 10 ปี โดยมีสิทธิขอรับบำนาญได้เมื่ออายุครบ 60 ปีเป็นต้นไป
(3) การจ่ายเงินเข้ากองทุน มาจาก 2 ฝ่าย คือ
- สมาชิก จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนไม่ต่ำกว่าเดือนละ 50 บาท แต่ไม่เกินจำนวนที่จะกำหนดในกฎกระทรวงซึ่งจะกำหนดไว้ 1,100 บาทต่อเดือน (ทั้งนี้ สมาชิกไม่จำเป็นต้องส่งเงินสะสมทุกเดือน และไม่จำเป็นต้องส่งเงินจำนวนเท่ากันทุกเดือน นอกจากนี้ หากในปีใดไม่สามารถส่งเงินสะสมได้ กอช. จะยังคงสิทธิความเป็นสมาชิกไว้ แต่รัฐก็จะไม่ส่งเงินสมทบให้)
- รัฐบาลจ่ายเงินสมทบให้แก่สมาชิกตามระดับอายุของสมาชิก และเป็นอัตราส่วนกับจำนวนเงินที่สมาชิกสะสมเข้ากองทุน คือ* 15-30 ปี รัฐจ่ายให้ 50% ของเงินสะสม แต่ไม่เกิน 600 บาทต่อปี
* อายุ 30-50 ปี รัฐจ่ายให้ 80% ของเงินสะสม แต่ต้องไม่เกิน 960 บาทต่อปี
* อายุมากกว่า 50 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี รัฐจะสมทบจ่ายให้ 100% ของเงินสะสม แต่ไม่เกิน 1,200 บาทต่อปี
การกำหนดเพดานการสมทบเงินสูงสุดไว้ในแต่ละปี เพื่อไม่ให้เป็นภาระทางการคลังของประเทศมากจนเกินไป ทั้งนี้ รัฐบาลยังได้ค้ำประกันผลตอบแทนขั้นต่ำว่า ต้องไม่น้อยกว่าดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 12 เดือนเฉลี่ยของธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์เกษตร (ธ.ก.ส.) และธนาคารพาณิชย์ใหญ่อีก 5 แห่ง ด้วยเช่นเดียวกัน
(4) เมื่อ สมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติเกษียณ (อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์) จะมี สิทธิได้รับเงิน ใน 4 กรณี คือ
(4.1) จะได้รับเงินบำนาญจากเงินสะสม เงินสมทบ และดอกผลจากเงินสะสม เงินสมทบ (ตามจำนวนเงินในบัญชีของผู้ออมแต่ละคน) ไปจนตลอดอายุขัย เป็นลักษณะของบำนาญรายเดือนตลอดชีวิต
(4.2) หากสมาชิกทุพพลภาพก่อนอายุครบ 60 ปี จะได้รับเงินสะสมและดอกผลของเงินสะสม ส่วนเงินสมทบและดอกผลของเงินสมทบจะได้รับเมื่อมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์
(4.3) หากลาออกจากกองทุน จะได้รับเงินสะสมและดอกผลของเงินสะสม
(4.4) หากเสียชีวิต จะได้รับเงินเท่ากับจำนวนเงินในบัญชีของแต่ละบุคคลที่ออมไว้
(5) หาก สมาชิกได้งานและไปเป็นสมาชิกของกองทุนประกันสังคม กองทุน กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือกองทุนการออมเพื่อการชราภาพอื่นๆ ก็ยังคงความเป็นสมาชิกและมีสิทธิส่งเงินสะสมกับ กอช. ได้ต่อไป ไม่จำเป็นต้องลาออกจากกองทุน แต่รัฐจะไม่สมทบเงินให้ และเงินที่สะสมในช่วงเวลาดังกล่าว จะไม่ถูกนำมารวมคำนวณเป็นเงินบำนาญ อย่างไรก็ดี
(6) ในระหว่างเป็นสมาชิก กอช. จะไม่สามารถถอนเงินออกมาใช้ก่อนได้
ทั้งนี้ กฎหมายระบุว่ากองทุนการออมแห่งชาติจะต้องเปิดรับสมาชิกให้ได้ภายใน 1 ปี หลังจากกฎหมายมีผลบังคับแล้ว หรือตามกำหนดการเดิม ก็คือ 8 พฤษภาคม 2555 แต่กระทั่งบัดนี้ก็ยังไม่สามารถเปิดดำเนินการได้ เนื่องด้วยทางกระทรวงการคลังได้มีการเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายใหม่อีกครั้ง
กล่าวโดยสรุป กองทุนการออมแห่งชาติ เป็นเครื่องมือในการสร้างเงินบำนาญยามชราภาพโดยสมัครใจของประชากรภาคแรงงานส่วนใหญ่ของประเทศ ที่มีรายได้น้อย ไม่เคยออม หรือต้องการออมเงินเพื่อหลักประกันยามชราภาพ เพราะไม่สามารถถอนเงินออกมาใช้ได้ยามฉุกเฉิน เหมือนการออมเงินทั่วไป นอกจากจะลาออกจากการเป็นสมาชิกเท่านั้น ข้อดี คือ สามารถกลับเป็นสมาชิกได้อีกเมื่อต้องการ
ลักษณะของเงินบำนาญที่ผู้รับประโยชน์ต้องมีส่วนร่วมจ่าย ในที่นี้หมายถึง มีส่วนร่วมจ่ายเงินสะสมแต่ละเดือน โดยรัฐบาลสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนเข้าเป็นสมาชิกและดำรงความเป็นสมาชิกไปเรื่อยๆ ด้วยการให้เงินสมทบร่วม เงินสองก้อนนี้จะถูกสะสมไว้ในบัญชีรายตัวของแต่ละคนไม่นำมาปะปนกัน
กองทุนนำเงินเหล่านี้ไปบริหารให้เกิดดอกออกผลขึ้นมา เมื่อถึงกำหนดอายุ 60 ปี กองทุนก็จะนำเงินที่มีอยู่ในบัญชีรายตัวทั้งหมดมาคำนวณตามกติกาที่ตั้งไว้ เพื่อเฉลี่ยจ่ายเป็นเงินบำนาญรายเดือนเพื่อสร้างความมั่นคงยามชราภาพให้มีอย่างต่อเนื่อง.
เครดิต : http://www.ryt9.com/s/tpd/1591392
""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""
น่าเสียดายค่ะ กองทุนการออมแห่งชาติ นับเป็นความคิดริเริ่มที่ดีของรัฐบาลอภิสิทธิ์
ที่จะดูแลประชากรนอกระบบแรงงาน
เพียงเพราะเป็นผลงานของต่างพรรค รัฐบาลยิ่งลักษณ์ถึงขนาดต้องยกเลิกทั้งๆผ่านเป็นกฎหมายบังคับใช้แล้ว
V
V
V
เพื่อส่งเสริมการออมของประชาชนและลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐในระยะยาว ในขณะที่ประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกปี ทำให้รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และมีนายกรณ์ จาติกวณิช เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้มีการจัดตั้งกองทุนการออมตาม พ.ร.บ.กองทุนการออมแห่งชาติ พ.ศ.2554 ขึ้น ภายใต้กำกับการดูแลของกระทรวงการคลัง ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2554
เพื่อเป็นการส่งเสริมการออมสำหรับสมาชิกที่เป็นแรงงานนอกระบบกว่า 24.6 ล้านคน ซึ่งเป็นกลุ่มที่ยังไม่มีระบบสวัสดิการรองรับในวัยเกษียณอายุ ทั้งนี้ กระทรวงการคลังได้จัดงานเปิดตัวกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2554
สาระสำคัญของกฎหมายกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) พ.ศ. 2554
(1) ผู้มีสิทธิเป็นสมาชิก กอช.
* เป็นบุคคลสัญชาติไทย
* อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปี บริบูรณ์
* ไม่เป็นสมาชิกของกองทุนเพื่อการชราภาพใดๆ ที่มีการสมทบเงินจากรัฐหรือนายจ้าง เช่น กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น กองทุนประกันสังคม (ซึ่งส่งเงินเพื่อได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ) กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เป็นต้น
(2) ตามบทเฉพาะกาลในกฎหมาย กำหนดให้ 1 ปีแรก เปิดรับสมาชิกภายใน (8 พฤษภาคม 2555 - 6 พฤษภาคม 2556) เปิดโอกาส ให้ผู้สูงอายุที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ที่ไม่อยู่ในระบบบำเหน็จบำนาญใดๆ สามารถออมต่อไปได้อีก 10 ปี โดยมีสิทธิขอรับบำนาญได้เมื่ออายุครบ 60 ปีเป็นต้นไป
(3) การจ่ายเงินเข้ากองทุน มาจาก 2 ฝ่าย คือ
- สมาชิก จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนไม่ต่ำกว่าเดือนละ 50 บาท แต่ไม่เกินจำนวนที่จะกำหนดในกฎกระทรวงซึ่งจะกำหนดไว้ 1,100 บาทต่อเดือน (ทั้งนี้ สมาชิกไม่จำเป็นต้องส่งเงินสะสมทุกเดือน และไม่จำเป็นต้องส่งเงินจำนวนเท่ากันทุกเดือน นอกจากนี้ หากในปีใดไม่สามารถส่งเงินสะสมได้ กอช. จะยังคงสิทธิความเป็นสมาชิกไว้ แต่รัฐก็จะไม่ส่งเงินสมทบให้)
- รัฐบาลจ่ายเงินสมทบให้แก่สมาชิกตามระดับอายุของสมาชิก และเป็นอัตราส่วนกับจำนวนเงินที่สมาชิกสะสมเข้ากองทุน คือ* 15-30 ปี รัฐจ่ายให้ 50% ของเงินสะสม แต่ไม่เกิน 600 บาทต่อปี
* อายุ 30-50 ปี รัฐจ่ายให้ 80% ของเงินสะสม แต่ต้องไม่เกิน 960 บาทต่อปี
* อายุมากกว่า 50 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี รัฐจะสมทบจ่ายให้ 100% ของเงินสะสม แต่ไม่เกิน 1,200 บาทต่อปี
การกำหนดเพดานการสมทบเงินสูงสุดไว้ในแต่ละปี เพื่อไม่ให้เป็นภาระทางการคลังของประเทศมากจนเกินไป ทั้งนี้ รัฐบาลยังได้ค้ำประกันผลตอบแทนขั้นต่ำว่า ต้องไม่น้อยกว่าดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 12 เดือนเฉลี่ยของธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์เกษตร (ธ.ก.ส.) และธนาคารพาณิชย์ใหญ่อีก 5 แห่ง ด้วยเช่นเดียวกัน
(4) เมื่อ สมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติเกษียณ (อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์) จะมี สิทธิได้รับเงิน ใน 4 กรณี คือ
(4.1) จะได้รับเงินบำนาญจากเงินสะสม เงินสมทบ และดอกผลจากเงินสะสม เงินสมทบ (ตามจำนวนเงินในบัญชีของผู้ออมแต่ละคน) ไปจนตลอดอายุขัย เป็นลักษณะของบำนาญรายเดือนตลอดชีวิต
(4.2) หากสมาชิกทุพพลภาพก่อนอายุครบ 60 ปี จะได้รับเงินสะสมและดอกผลของเงินสะสม ส่วนเงินสมทบและดอกผลของเงินสมทบจะได้รับเมื่อมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์
(4.3) หากลาออกจากกองทุน จะได้รับเงินสะสมและดอกผลของเงินสะสม
(4.4) หากเสียชีวิต จะได้รับเงินเท่ากับจำนวนเงินในบัญชีของแต่ละบุคคลที่ออมไว้
(5) หาก สมาชิกได้งานและไปเป็นสมาชิกของกองทุนประกันสังคม กองทุน กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือกองทุนการออมเพื่อการชราภาพอื่นๆ ก็ยังคงความเป็นสมาชิกและมีสิทธิส่งเงินสะสมกับ กอช. ได้ต่อไป ไม่จำเป็นต้องลาออกจากกองทุน แต่รัฐจะไม่สมทบเงินให้ และเงินที่สะสมในช่วงเวลาดังกล่าว จะไม่ถูกนำมารวมคำนวณเป็นเงินบำนาญ อย่างไรก็ดี
(6) ในระหว่างเป็นสมาชิก กอช. จะไม่สามารถถอนเงินออกมาใช้ก่อนได้
ทั้งนี้ กฎหมายระบุว่ากองทุนการออมแห่งชาติจะต้องเปิดรับสมาชิกให้ได้ภายใน 1 ปี หลังจากกฎหมายมีผลบังคับแล้ว หรือตามกำหนดการเดิม ก็คือ 8 พฤษภาคม 2555 แต่กระทั่งบัดนี้ก็ยังไม่สามารถเปิดดำเนินการได้ เนื่องด้วยทางกระทรวงการคลังได้มีการเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายใหม่อีกครั้ง
กล่าวโดยสรุป กองทุนการออมแห่งชาติ เป็นเครื่องมือในการสร้างเงินบำนาญยามชราภาพโดยสมัครใจของประชากรภาคแรงงานส่วนใหญ่ของประเทศ ที่มีรายได้น้อย ไม่เคยออม หรือต้องการออมเงินเพื่อหลักประกันยามชราภาพ เพราะไม่สามารถถอนเงินออกมาใช้ได้ยามฉุกเฉิน เหมือนการออมเงินทั่วไป นอกจากจะลาออกจากการเป็นสมาชิกเท่านั้น ข้อดี คือ สามารถกลับเป็นสมาชิกได้อีกเมื่อต้องการ
ลักษณะของเงินบำนาญที่ผู้รับประโยชน์ต้องมีส่วนร่วมจ่าย ในที่นี้หมายถึง มีส่วนร่วมจ่ายเงินสะสมแต่ละเดือน โดยรัฐบาลสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนเข้าเป็นสมาชิกและดำรงความเป็นสมาชิกไปเรื่อยๆ ด้วยการให้เงินสมทบร่วม เงินสองก้อนนี้จะถูกสะสมไว้ในบัญชีรายตัวของแต่ละคนไม่นำมาปะปนกัน
กองทุนนำเงินเหล่านี้ไปบริหารให้เกิดดอกออกผลขึ้นมา เมื่อถึงกำหนดอายุ 60 ปี กองทุนก็จะนำเงินที่มีอยู่ในบัญชีรายตัวทั้งหมดมาคำนวณตามกติกาที่ตั้งไว้ เพื่อเฉลี่ยจ่ายเป็นเงินบำนาญรายเดือนเพื่อสร้างความมั่นคงยามชราภาพให้มีอย่างต่อเนื่อง.
เครดิต : http://www.ryt9.com/s/tpd/1591392
""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""
น่าเสียดายค่ะ กองทุนการออมแห่งชาติ นับเป็นความคิดริเริ่มที่ดีของรัฐบาลอภิสิทธิ์
ที่จะดูแลประชากรนอกระบบแรงงาน
เพียงเพราะเป็นผลงานของต่างพรรค รัฐบาลยิ่งลักษณ์ถึงขนาดต้องยกเลิกทั้งๆผ่านเป็นกฎหมายบังคับใช้แล้ว
ความคิดเห็นที่ 24
ทักทายเพื่อนๆNONแดงทุกๆท่านครับ วันนี้ไปตลาดมา เห็นพี่น้องคนเสื้อแดงต่างบนและด่ากันใหญ่เลย ไหนว่าเป็นนารีขี่ม้าขาวฟ่ะ
สัญญาไว้ว่ายังไงตอนหาเสียง วันๆงานการไม่ทำมัวแต่แต๊ดแต๊สวยงามเที่ยวต่างประเทศ ราคาสินค้าบริโภคอุปโภค ค่าน้ำค่าไฟ ค่าแก็ส
ต่างปรับราคาสุงขึ้น ค่าครองชีพที่เคยสัญญาว่าจะกระชากกับกระชากขึ้นเห็นแล้วขำ เลือกมากับมือ55555
สัญญาไว้ว่ายังไงตอนหาเสียง วันๆงานการไม่ทำมัวแต่แต๊ดแต๊สวยงามเที่ยวต่างประเทศ ราคาสินค้าบริโภคอุปโภค ค่าน้ำค่าไฟ ค่าแก็ส
ต่างปรับราคาสุงขึ้น ค่าครองชีพที่เคยสัญญาว่าจะกระชากกับกระชากขึ้นเห็นแล้วขำ เลือกมากับมือ55555
แสดงความคิดเห็น
@@@มุมกาแฟNONแดง(มุมนี้ไม่มีใครเป็นเสื้อแดง)เสาร์ที่ 31/8/2013:เมื่อรัฐ...รังแกคนแก่ ยุบกองทุนออมแห่งชาติ?@@@
ศุกร์ที่ 30/8/2013:เตรียมพร้อม? กระชากค่าครองชีพอีกรอบ อัตราค่าทางด่วนใหม่@@
ต้นกำเนิด nonแดง โปรดดูรายละเอียดได้ที่นี่http://topicstock.ppantip.com/rajdumnern/topicstock/2012/05/P12108539/P12108539.html
**รายชื่อสมาชิกชาว NONแดง (ผู้กล้าประกาศตัวว่าไม่เป็นคนเสื้อแดง)**
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
*********************************************************************************
สมาชิกใหม่รอรับบัตร
474 สมาชิกหมายเลข 791328
475 สมาชิกหมายเลข 942256
476 5natee4sop
477 MAN NO.28
478 MiNiJung
479 สมาชิกหมายเลข 984326
*********************************************************************************
รวบรวมบัตรสมาชิกไว้ที่นี่
http://ppantip.com/topic/30689712