ที่ผมพูดแบบนี้ เพราะเท่าที่ถามเพื่อนๆที่ทำสวนยางในภาคใต้
ทราบมาว่าชาวสวนยางทางใต้ไม่ได้กรีดยางเองไปส่วนใหญ่จ้างพม่ามากรีด โดยแบ่งรายได้ที่ 40/60 พม่า 40 เจ้าของ 60
ผมเข้าใจว่าแบ่งจากราคาขาย ณ วันนั้นๆ เลย เท่ากับว่า พม่า นอกจากลงแรงอย่างเดียวแล้ว
ไม่ต้องลงทุนอะไรอีกเลย เพราะอุปกรณ์ทั้งหมดเจ้าของสวนเป็นคนจัดหามาให้
ชาวสวนยางต้องกลับไปนั่งพิจารณาที่สวนยางของใครของมันก่อน
ว่าที่จริงแล้วที่อยู่ไม่ได้เพราะราคายางตกต่ำ หรือว่าอยู่ไม่ได้เพราะต้นทุนของตัวเองสูงเกินไป
เพราะเท่าที่ฟังมาก็ประมาณว่า ยางราคาตก ชาวสวนยางขาดทุน
ที่จริงคุณทำสวนยางมาหลายปี เจ้าของก็น่าจะรู้ต้นทุนที่แท้จริง ว่าแต่ละปีเสียเงินไปเท่าใร่ แล้วได้เงินเท่าใหร่
เหมือนที่บ้านผมทำนา เราก็จดใว้ว่าปีนี้ได้เท่าใหร่ หักทุนแล้วเหลือเท่าใหร่
ดังนั้นเมื่อคุณรู้ว่าต้นทุนคุณอยู่ที่เท่าใหร่ ก็เอาทุนมาตั้ง ถ้ากลัวราคายางลด หรือเพิ่ม ก็ บวกไปซัก 10 - 15%
เมื่อได้ดังนี้แล้วก็มาตกลงกับพม่าว่า
1. คุณลงทุน ทำสวนยาง ปุ๋ย ฯลฯ
2. พม่า กรียดอย่างเดียว หรือจะกรีด แล้วทำเป็นแผ่นด้วยก็ได้
3. ตกลงกันว่าคุณและพม่าจะแบ่งกันยังใง หลังจากหักต้นทุนแล้ว
แบบนี้ผมว่าก็สมประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
ไม่ต้องกลัวว่าพท่าจะไม่กรีด เพราะถ้าจะเอาวิธีนี้ก็ลงมติในสมาคมผู้ปลูกยางของคุณเสีย แล้วก็ประกาศออกไปว่าต้องทำแบบเดียวกันทั้งประเทศ แบบนี้น่าจะแก้ปัญหาเรื่องพม่าจะไม่ทำไปได้ เพราะยังใงคนหนึ่งไม่ทำ ก็ยังมีอีกคนที่อยากทำอยู่ดี
เพราะเมื่อเปรียบเทียบกับชาวนา ต้นทุนเรื่องการเก็บเกี่ยวเขาไม่แพงเท่า
เพราะมันเป็นค่าจ้างแบบรายวัน ไม่ใช่ค้าจ้างแบบ commission แบบที่ชาวสวนยางทำ
ดังนั้นถ้าปรับเปลี่ยนวิธีในการจัดการเรื่องการเก็บเกี่ยวผลผลิต
ผมว่าเรื่องขาดทุนคงไม่มี จะมีก็แต่ กำไรมาก กำไรน้อย
ผมมาแชร์ไอเดียนะครับ จะทำได้ไม่ได้ก็ว่ากันไป อย่างน้อยก็ยังเห็นว่ามีทางออกอยู่บ้างครับ
อย่ามัวแต่มาประท้วงตามคำหลอกของ ปชป อยู่เลยครับ มันไม่คุ้มกับเวลาที่เสียไปหรอกครับ
ชาวสวนยางจะอยู่ได้ถ้าไม่ทำสวนยางแบบแบ่งค่า คอมมิชชั่น
ทราบมาว่าชาวสวนยางทางใต้ไม่ได้กรีดยางเองไปส่วนใหญ่จ้างพม่ามากรีด โดยแบ่งรายได้ที่ 40/60 พม่า 40 เจ้าของ 60
ผมเข้าใจว่าแบ่งจากราคาขาย ณ วันนั้นๆ เลย เท่ากับว่า พม่า นอกจากลงแรงอย่างเดียวแล้ว
ไม่ต้องลงทุนอะไรอีกเลย เพราะอุปกรณ์ทั้งหมดเจ้าของสวนเป็นคนจัดหามาให้
ชาวสวนยางต้องกลับไปนั่งพิจารณาที่สวนยางของใครของมันก่อน
ว่าที่จริงแล้วที่อยู่ไม่ได้เพราะราคายางตกต่ำ หรือว่าอยู่ไม่ได้เพราะต้นทุนของตัวเองสูงเกินไป
เพราะเท่าที่ฟังมาก็ประมาณว่า ยางราคาตก ชาวสวนยางขาดทุน
ที่จริงคุณทำสวนยางมาหลายปี เจ้าของก็น่าจะรู้ต้นทุนที่แท้จริง ว่าแต่ละปีเสียเงินไปเท่าใร่ แล้วได้เงินเท่าใหร่
เหมือนที่บ้านผมทำนา เราก็จดใว้ว่าปีนี้ได้เท่าใหร่ หักทุนแล้วเหลือเท่าใหร่
ดังนั้นเมื่อคุณรู้ว่าต้นทุนคุณอยู่ที่เท่าใหร่ ก็เอาทุนมาตั้ง ถ้ากลัวราคายางลด หรือเพิ่ม ก็ บวกไปซัก 10 - 15%
เมื่อได้ดังนี้แล้วก็มาตกลงกับพม่าว่า
1. คุณลงทุน ทำสวนยาง ปุ๋ย ฯลฯ
2. พม่า กรียดอย่างเดียว หรือจะกรีด แล้วทำเป็นแผ่นด้วยก็ได้
3. ตกลงกันว่าคุณและพม่าจะแบ่งกันยังใง หลังจากหักต้นทุนแล้ว
แบบนี้ผมว่าก็สมประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
ไม่ต้องกลัวว่าพท่าจะไม่กรีด เพราะถ้าจะเอาวิธีนี้ก็ลงมติในสมาคมผู้ปลูกยางของคุณเสีย แล้วก็ประกาศออกไปว่าต้องทำแบบเดียวกันทั้งประเทศ แบบนี้น่าจะแก้ปัญหาเรื่องพม่าจะไม่ทำไปได้ เพราะยังใงคนหนึ่งไม่ทำ ก็ยังมีอีกคนที่อยากทำอยู่ดี
เพราะเมื่อเปรียบเทียบกับชาวนา ต้นทุนเรื่องการเก็บเกี่ยวเขาไม่แพงเท่า
เพราะมันเป็นค่าจ้างแบบรายวัน ไม่ใช่ค้าจ้างแบบ commission แบบที่ชาวสวนยางทำ
ดังนั้นถ้าปรับเปลี่ยนวิธีในการจัดการเรื่องการเก็บเกี่ยวผลผลิต
ผมว่าเรื่องขาดทุนคงไม่มี จะมีก็แต่ กำไรมาก กำไรน้อย
ผมมาแชร์ไอเดียนะครับ จะทำได้ไม่ได้ก็ว่ากันไป อย่างน้อยก็ยังเห็นว่ามีทางออกอยู่บ้างครับ
อย่ามัวแต่มาประท้วงตามคำหลอกของ ปชป อยู่เลยครับ มันไม่คุ้มกับเวลาที่เสียไปหรอกครับ