แท็ก ฟุตบอลไทย เพราะเรื่องการเลือกตั้ง ซึ่งผมจะชี้ให้เห็นว่าคำอธิบายที่ตัวแทนฟีฟ่ากล่าวมาในวันที่ 8 ส.ค. 56 นั้นมันไม่สมเหตุสมผล
แท็ก สโมสรฟุตบอลอังกฤษ ใครเก่งอังกฤษและอยากรู้เรื่องการสร้างนักเตะเยาวชนรูปแบบใหม่ให้อ่านเอกสารข้างล่างหน้า 20 หัวข้อ SCHOLARSHIPS จนถึงหน้า 23 ที่อังกฤษออกกฎฝึกเด็กที่กำหนดให้แม้แต่สมาคมฟุตบอลของเมืองเล็กๆต้องทำตาม
แท็ก สโมสรฟุตบอลอิตาลี แฟนบอลอิตาลีคนไหนอยากเห็น Standard Statutes ของสมาคมฟุตบอลอิตาลีเป็นบุญ (หรือกรรม) ตา ก็มีให้ดู รูปแบบแปลกแหวกแนวสุดๆ อาร์ตตัวพ่อของแท้
หลังจากที่มีกระแสตกใจที่อยู่ๆมีตัวแทนจากศูนย์ภูมิภาคมาเข้าร่วมประชุมที่กำหนดอนาคตฟุตบอลไทยถึง 21 คน
ผมจึงต้องมาอธิบายถึงที่มาที่ไป และความรับผิดชอบที่ “ศูนย์ภูมิภาค” ต้องมี ถึงจะมีสิทธิ์ออกเสียงในที่ประชุมของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยถ้าว่ากันตามหลักสากล
ที่มาที่ไป
ก็รู้ๆกันอยู่ว่าความคิดของผู้บริหารสมาคมฟุตบอลไทยมันมาจากสมาคมฟุตบอลอังกฤษทั้งนั้น แต่ก็ใช่ว่าสิ่งที่เอามามันจะใช้ได้จริงๆซะหน่อย
นี้คือโครงสร้างของที่ประชุมสมาคมฟุตบอลอังกฤษ เนื่องจากสโมสรฟุตบอลของพวกเขามีเป็นพันๆทีม เขาจึงต้องกระจายอำนาจให้ทั่วถึงจึงออกมาดังนี้
ตัวแทนจากทุกดิวิชั่น (ถ้าเรียกให้ถูกก็มาจากสโมสรฟุตบอลอาชีพ) 10 คน
ตัวแทนจากสมาคมฟุตบอลต่างๆในประเทศ (หรือก็คือ “ศูนย์ภูมิภาค” ที่อยู่ๆโผล่มาในไทย) 52 คน
ตัวแทนจากพรีเมียร์ลีก 6 คน
ตัวแทนจากฟุตบอลลีก (เดอะ แชมเปี้ยนชิพ, ลีกวัน, ลีก ทู) 6 คน
ตัวแทนจากคอนเฟเรนตซ์ ลีก (ลีกที่ถัดมาจากลีกทู) 2 คน
ตัวแทนจากพรีเมียร์ ลีกทางเหนือ 1 คน
ตัวแทนจากลีกทางใต้ 1 คน
ตัวแทนจาก The Isthmian League 1 คน
ตัวแทนจากสมาคมผู้ตัดสิน 1 คน
ตัวแทนจากสมาคมผู้ตัดสินฟุตบอลลีก 1 คน
ตัวแทนจากสหภาพนักเตะ 1 คน
ตัวแทนจากกลุ่มกองเชียร์ 1 คน
Independent Non-Executive Directors 2 คน
Inclusion Representative 1 คน
ตัวแทนจากสหภาพนักฟุตบอลพิการ 1 คน
เลขาธิการสมาคม 1 คน
ลิงค์
http://www.thefa.com/~/media/Files/TheFAPortal/governance-docs/rules-of-the-association/2013-14/the-football-association-council.ashx
ถ้าถามว่ารู้ได้ไงว่าโครงสร้างสภานี้มีหน้าที่เลือกนากสมาคม กับออกเสียงในการเปลี่ยนแปลงกฏ รู้มาจากตอนทำเรื่องการปฎิรูประบบฝึกเยาวชนของอังกฤษ และอ่านเจอว่า “แกเร็ธ เซาธ์เกต” ต้องเดินสายไปจัดนิทรรศการตามเมืองต่าง เพื่อให้พวกเขาลงมติยอมรับ
ก่อนจะเข้าประเด็นไปดูสภาของสมาคมฟุตบอลอิตาลีซะหน่อย อาร์ตมาก ระบุเป็นเปอร์เซ็นต์
ตัวแทนจากลีกสมัครเล่น (LND) 34%
ตัวแทนจากลีกอาชีพ 34%
ตัวแทนจากสหภาพนักบอลอิตาลี 20%
ตัวแทนจากสหภาพผู้จัดการทีม 10%
ตัวแทนจากเจ้าหน้าที่จัดการแข่งขัน 2%
ลิงค์
http://www.figc.it/en/86/3827/Norme.shtml
เลือก art. 20 – art. 29 ซึ่งในนั้นบอกว่ากรรมการบริหารให้มาจากการเลือกตั้งทุกตำแหน่ง
ส่วนนี้คือ คำอธิบายของฟีฟ่าจากโกลดอทคอมไทยแลนด์ วันที่ 8 สิงหาคม 56
ลิงค์
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.goal.com/th/news/4280/%E0%B8%9F%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/2013/08/08/4173332/%E0%B8%9F%E0%B8%B5%E0%B8%9F%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89?ICID=CP_313 ทำไมไม่ใช้เป็นรหัสตัวเลขมันจะเข้าง่ายกว่า
จากที่ตัวแทนฟีฟ่าอธิบายในย่อหน้าที่ 7 ว่า “เรายอมรับไม่ได้ว่าทีมสมัครเล่น ที่ไม่มีความชัดเจนและไม่รู้ว่ามีตัวตนหรือไม่ ลงแข่งขันเพียงไม่กี่แมตช์ จะมีสิทธิ์เท่าเทียมกับทีมที่ลงแข่งขันตลอดทั้งปี" ”
ข้อเท็จจริง คือ ฟุตบอลลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 นั้นมีเกมลงเล่นสม่ำเสมอทั้งปี ถ้าไม่นับภาคใต้ที่มีช่วงพักระหว่างที่ชาวมุสลิมที่ศีลอด อีกอย่างคือลีกภูมิภาคเรามันก็มีเกมให้ลงเล่นมากกว่า กาตาร์ สตาร์ลีกฤดูกาล 2012-2013 (อย่าไปเปิดดูตารางฤดูกาล 2013-14 ละมี 14 ทีมแล้ว) ที่มีแค่ 12 ทีม 24 เกมซะอีก (ยกเว้นภาคใต้ที่มี 11 ทีม)
ที่สำคัญ คือ ทีมในลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 ดำเนินการแบบมืออาชีพ มีการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัท มีร้านค้าที่ระลึก พยายามสร้างฐานแฟนบอล มันคือทีมฟุตบอลอาชีพชัดๆ
และสมมุติว่าจะอ้าวว่าทางฟีฟ่าได้ตีความว่าทีมในลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 เป็นทีมสมัครเล่นแล้วจะให้ออกเสียงได้น้อยกว่าที่ระดับมืออาชีพ ก็ดูที่ข้อมูลข้างบนที่ชาติที่เจริญแล้วด้านฟุตบอลชาติหนึ่งเป็นแชมป์โลก 4 สมัย กับอีกชาติหนึ่งทำรายได้มหาศาลกับการขายลิขสิทธิ์ฟุตบอลยังให้สิทธิ์ทีมสมัครเล่นเท่ากับ (อิตาลี) หรือมากกว่า (อังกฤษ) สโมสรอาชีพกันเลย
จากเหตุผลที่ฟีฟ่าให้มานั้นมันใช้ไม่ได้
ปล. แต่ผมไม่เห็นด้วยที่จะเอาทีมที่เล่นถ้วย ข. ค. และ ง. มาลงคะแนนนะ มันไม่ชัดเจนจริงๆ
[พิเศษ] ชำแหละคำอธิบายของตัวแทนฟีฟ่า และมาทำความรู้จัก “ศูนย์ภูมิภาค” ตามหลักสากลกันเถอะ
แท็ก สโมสรฟุตบอลอังกฤษ ใครเก่งอังกฤษและอยากรู้เรื่องการสร้างนักเตะเยาวชนรูปแบบใหม่ให้อ่านเอกสารข้างล่างหน้า 20 หัวข้อ SCHOLARSHIPS จนถึงหน้า 23 ที่อังกฤษออกกฎฝึกเด็กที่กำหนดให้แม้แต่สมาคมฟุตบอลของเมืองเล็กๆต้องทำตาม
แท็ก สโมสรฟุตบอลอิตาลี แฟนบอลอิตาลีคนไหนอยากเห็น Standard Statutes ของสมาคมฟุตบอลอิตาลีเป็นบุญ (หรือกรรม) ตา ก็มีให้ดู รูปแบบแปลกแหวกแนวสุดๆ อาร์ตตัวพ่อของแท้
หลังจากที่มีกระแสตกใจที่อยู่ๆมีตัวแทนจากศูนย์ภูมิภาคมาเข้าร่วมประชุมที่กำหนดอนาคตฟุตบอลไทยถึง 21 คน
ผมจึงต้องมาอธิบายถึงที่มาที่ไป และความรับผิดชอบที่ “ศูนย์ภูมิภาค” ต้องมี ถึงจะมีสิทธิ์ออกเสียงในที่ประชุมของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยถ้าว่ากันตามหลักสากล
ที่มาที่ไป
ก็รู้ๆกันอยู่ว่าความคิดของผู้บริหารสมาคมฟุตบอลไทยมันมาจากสมาคมฟุตบอลอังกฤษทั้งนั้น แต่ก็ใช่ว่าสิ่งที่เอามามันจะใช้ได้จริงๆซะหน่อย
นี้คือโครงสร้างของที่ประชุมสมาคมฟุตบอลอังกฤษ เนื่องจากสโมสรฟุตบอลของพวกเขามีเป็นพันๆทีม เขาจึงต้องกระจายอำนาจให้ทั่วถึงจึงออกมาดังนี้
ตัวแทนจากทุกดิวิชั่น (ถ้าเรียกให้ถูกก็มาจากสโมสรฟุตบอลอาชีพ) 10 คน
ตัวแทนจากสมาคมฟุตบอลต่างๆในประเทศ (หรือก็คือ “ศูนย์ภูมิภาค” ที่อยู่ๆโผล่มาในไทย) 52 คน
ตัวแทนจากพรีเมียร์ลีก 6 คน
ตัวแทนจากฟุตบอลลีก (เดอะ แชมเปี้ยนชิพ, ลีกวัน, ลีก ทู) 6 คน
ตัวแทนจากคอนเฟเรนตซ์ ลีก (ลีกที่ถัดมาจากลีกทู) 2 คน
ตัวแทนจากพรีเมียร์ ลีกทางเหนือ 1 คน
ตัวแทนจากลีกทางใต้ 1 คน
ตัวแทนจาก The Isthmian League 1 คน
ตัวแทนจากสมาคมผู้ตัดสิน 1 คน
ตัวแทนจากสมาคมผู้ตัดสินฟุตบอลลีก 1 คน
ตัวแทนจากสหภาพนักเตะ 1 คน
ตัวแทนจากกลุ่มกองเชียร์ 1 คน
Independent Non-Executive Directors 2 คน
Inclusion Representative 1 คน
ตัวแทนจากสหภาพนักฟุตบอลพิการ 1 คน
เลขาธิการสมาคม 1 คน
ลิงค์
http://www.thefa.com/~/media/Files/TheFAPortal/governance-docs/rules-of-the-association/2013-14/the-football-association-council.ashx
ถ้าถามว่ารู้ได้ไงว่าโครงสร้างสภานี้มีหน้าที่เลือกนากสมาคม กับออกเสียงในการเปลี่ยนแปลงกฏ รู้มาจากตอนทำเรื่องการปฎิรูประบบฝึกเยาวชนของอังกฤษ และอ่านเจอว่า “แกเร็ธ เซาธ์เกต” ต้องเดินสายไปจัดนิทรรศการตามเมืองต่าง เพื่อให้พวกเขาลงมติยอมรับ
ก่อนจะเข้าประเด็นไปดูสภาของสมาคมฟุตบอลอิตาลีซะหน่อย อาร์ตมาก ระบุเป็นเปอร์เซ็นต์
ตัวแทนจากลีกสมัครเล่น (LND) 34%
ตัวแทนจากลีกอาชีพ 34%
ตัวแทนจากสหภาพนักบอลอิตาลี 20%
ตัวแทนจากสหภาพผู้จัดการทีม 10%
ตัวแทนจากเจ้าหน้าที่จัดการแข่งขัน 2%
ลิงค์
http://www.figc.it/en/86/3827/Norme.shtml
เลือก art. 20 – art. 29 ซึ่งในนั้นบอกว่ากรรมการบริหารให้มาจากการเลือกตั้งทุกตำแหน่ง
ส่วนนี้คือ คำอธิบายของฟีฟ่าจากโกลดอทคอมไทยแลนด์ วันที่ 8 สิงหาคม 56
ลิงค์
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ ทำไมไม่ใช้เป็นรหัสตัวเลขมันจะเข้าง่ายกว่า
จากที่ตัวแทนฟีฟ่าอธิบายในย่อหน้าที่ 7 ว่า “เรายอมรับไม่ได้ว่าทีมสมัครเล่น ที่ไม่มีความชัดเจนและไม่รู้ว่ามีตัวตนหรือไม่ ลงแข่งขันเพียงไม่กี่แมตช์ จะมีสิทธิ์เท่าเทียมกับทีมที่ลงแข่งขันตลอดทั้งปี" ”
ข้อเท็จจริง คือ ฟุตบอลลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 นั้นมีเกมลงเล่นสม่ำเสมอทั้งปี ถ้าไม่นับภาคใต้ที่มีช่วงพักระหว่างที่ชาวมุสลิมที่ศีลอด อีกอย่างคือลีกภูมิภาคเรามันก็มีเกมให้ลงเล่นมากกว่า กาตาร์ สตาร์ลีกฤดูกาล 2012-2013 (อย่าไปเปิดดูตารางฤดูกาล 2013-14 ละมี 14 ทีมแล้ว) ที่มีแค่ 12 ทีม 24 เกมซะอีก (ยกเว้นภาคใต้ที่มี 11 ทีม)
ที่สำคัญ คือ ทีมในลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 ดำเนินการแบบมืออาชีพ มีการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัท มีร้านค้าที่ระลึก พยายามสร้างฐานแฟนบอล มันคือทีมฟุตบอลอาชีพชัดๆ
และสมมุติว่าจะอ้าวว่าทางฟีฟ่าได้ตีความว่าทีมในลีกภูมิภาคดิวิชั่น 2 เป็นทีมสมัครเล่นแล้วจะให้ออกเสียงได้น้อยกว่าที่ระดับมืออาชีพ ก็ดูที่ข้อมูลข้างบนที่ชาติที่เจริญแล้วด้านฟุตบอลชาติหนึ่งเป็นแชมป์โลก 4 สมัย กับอีกชาติหนึ่งทำรายได้มหาศาลกับการขายลิขสิทธิ์ฟุตบอลยังให้สิทธิ์ทีมสมัครเล่นเท่ากับ (อิตาลี) หรือมากกว่า (อังกฤษ) สโมสรอาชีพกันเลย
จากเหตุผลที่ฟีฟ่าให้มานั้นมันใช้ไม่ได้
ปล. แต่ผมไม่เห็นด้วยที่จะเอาทีมที่เล่นถ้วย ข. ค. และ ง. มาลงคะแนนนะ มันไม่ชัดเจนจริงๆ