ก่อนอื่นขอไม่ระบุถึงผลิตภัณฑ์หรือผู้จัดจำหน่ายนะครับ
เป็นเวย์ ซึ่งระบุฉลากด้านข้างว่า 1 scoop 28g(จำเลขเป๊ะๆไม่ได้นะครับ ประมาณนี้)
ซึ่งมีผู้ลองชั่งดู ปรากฎว่าชั่งได้แค่ 30 ( ช้อน 10 g ) ซึ่งแปลว่าได้มาแค่ 20 g หายไปถึง 8 g
นี่คือข้อความบางส่วนจากผู้จำหน่ายครับ
- “ปริมาตร” ของเวย์นั้นไม่เท่ากันเสมอไป บางขวดฟูและบางขวดผงก็ดูแน่นๆ , บางอันเนื้อละเอียดและบางอันดูหยาบหน่อย ทั้งนี้อันเนื่องจากปัจจัยการผลิตที่แตกต่างกัน ในแต่ละ LOT ไป
- *** โดยในแต่ละ LOT นั้นความหนาแน่นอาจต่างกันมากถึง 60% ก็เป็นได้ครับ... อ้างอิงจากภาพของกราฟด้านล่างนี้แสดงให้เห็นถึงเวย์ที่เป็นคนละ LOT กัน และมี Particle size แตกต่างกัน
-การทีความหนาแน่นของ LOT หนึ่งต่างไปสู่อีก LOT หนึ่งทำให้ปริมาณที่ตวงต่อครั้งนั้นอาจได้น้ำหนักที่ต่างกัน, LOT ที่มีความหนาแน่นน้อยก็มีการตักที่ได้น้อยกว่า LOT ที่มีความหนาแน่นมาก…. อย่างไรก็ตามน้ำหนักของตัวเนื้อเวย์ทั้งหมดเป็นตัวตัดสินว่าสุดท้ายแล้วสินค้านั้นได้น้ำหนักรวมหรือไม่ครับ
- ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่าความหนาแน่นที่ต่างกันในการผลิตของเวย์โปรตีน
ความหนาแน่น = มวลน้ำหนัก/ปริมาตร
****ปัจจัยที่ทำให้เกิดตัวแปรความหนาแน่น****
Inlet/oulet temperature จากการ Spray dried = อุณหภูมิ ณ ขั้นตอน Spray dried ที่แตกต่างนั้นจะส่งผลต่อความหนาแน่นโดยหากอุณหภูมิของ Inlet (อุณหภูมิเข้า) สูงก็จะส่งผลกระทบต่อความหนาแน่น ทำให้ความหนาแน่นมากขึ้น… อย่างไรก็ตามมีการควบคุมอุณหภูมิ Outlet ไว้ด้วยเพื่อควบคุมอัตราการแห้งเพราะอุณหภูมิมีผลต่อคุณค่าทางสารอาหารของโปรตีน
Atomization = การทำให้แตกตัว โดยหากเครื่อง Atomization ใช้กำลัง WAT สูงเครื่องก็จะแยก Atom ละเอียดขึ้น ทำให้ความหนาแน่นน้อยลง และในทางกลับกันหากไม่ได้เร่งเครื่องมาก การ Atomization ก็จะน้อย นำไปสู่ผงที่หยาบกว่ากและความหนาแน่นที่สูงขึ้น
Feed Flow rate = อัตราการป้อนเข้าตัวเวย์เข้าเครื่อง Spary dried โดยยิ่งการป้อนเร็วเกินไปเท่าไหร่ก็ทำให้ความหนาแน่นเพิ่มขึ้นมากเท่านั้น
Particle shape = รูปร่างของอนุภาคโดยดูได้จากภาพที่โพสซึ่งเป็นการขยายด้วยเครื่อง Electro micrograph ในขนาด 1,000เท่าของเวย์โปรตีน 6ยี่ห้อที่แตกต่างกัน โดยหากมีรูปทรงแบบ Spherical shape (รูปทรงกลม) (รูปแบบ D) นั้นจะทำให้ความหนาแน่นสูงขึ้นเพราะว่ามีอากาศประเภท Interstital air** เข้าไปแทรกได้น้อยลง
Particle หรือรูปร่างที่ต่างกันนั้นมีปัจจัยหรืออยู่ที Nozzle ครับ โดยจะเป็นตัวกำหนดรูป Particle ในการ Spray dried ครั้งนั้นๆนะครับ (ภาพ Nozzle
http://www.dairyfoods.com/articles/88615-lechler-announces-new-higher-capacity-tank-cleaning-spray-ball)
อ้างอิง:
http://naldc.nal.usda.gov/download/10264/PDF
อ้างอิง #2:
http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache%3AxDT3BvXcTAsJ%3Awww.dptc.calpoly.edu%2FnewsletterPDF%2FV3N1.PDF+&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th
- *Occluded air = อากาศที่อยู่ในภายในของแข็งหรือแทรกตัวอยู่ระหว่างของแข็ง ทำให้ปริมาตรเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความหนาแน่นน้อยลง
**Interstitial air = อากาศที่อยู่ระหว่างอนุภาคด้วยกัน สามารถที่จะลดลงได้ด้วยการเพียง “TAP” หรือการเขย่าเพื่อให้เกิดช่องว่างที่น้อยลงระหว่างอนุภาคกับอนุภาค โดย Guideline มักใช้การ TAP ประมาณ 100ครั้ง จึงจะถือว่าไล่อากาศออกไปได้ส่วนนึง
Link ด้านล่างสำหรับหลักการคิด Density ของสิ่งของต่างๆ พร้อมทั้งคำนิยามของตัวแปรต่างๆ
อ้างอิง:
http://www.niro.com/niro/cmsdoc.nsf/webdoc/ndkw6u9cd8
- ภาพรวมของปัญหาเรื่องความหนาแน่นก่อนถึงมือท่าน
ปัญหามันอยู่ที่ตามขั้นตอนดังนี้นะครับผม
1) แหล่งของนมว่ามาจากฝากไหนของประเทศ USA, ตะวันออก หรือตะวันตก Characteristic เบื้องต้นของนมเหล่านั้นก็ต่างกันแล้ว
2) ผลิต Whey แบบไหน ION EXCHANGE หรือ CFM cross-flow microfiltration)
3) Spray dired ที่โรงงานไหน... หลายๆคนนั้นอาจจะเข้าใจว่าโรงงานนมเป็นคนทำ Spray dried เองและพวก Instantize เองนะครับ แต่จริงๆแล้ว ทางโรงงานนมหลายๆโรงที่ผลิตเวย์ได้ ไม่มีเครื่องมือก็ต้อง Outsource ไป Spray dried อีกที่นะครับ ทำให้ควบคุมไม่ได้อีก 1ขั้นตอน (Post นี้ที่ผมเขียนไป อธิบายแค่ข้อนี้ ข้อเดียว)
4) การ Settling และการเขย่าของตัวขวดสินค้าหลังจาก Pack แล้วทำให้ผงเวย์มีความหนาแน่นมากขึ้น
นี่คือรูปที่กล่าวถึงโมเลกุลของเวย์ครับ
[img]http://www.uppic.org/thumb-62F4_52088859.jpg[/img]
นี่คือส่วนนึงนะครับ ผมเลยมีคำถาม ว่า
- อยากทราบว่าข้อมูลที่กล่าวถึง จริงเท็จแค่ไหนครับ
-เป็นไปได้ไหมครับ ที่โครงสร้างทางโมเลกุลของเวย์ ที่กล่าวไม่ว่าจะเป็น ช่องว่าง รูปร่างอนุภาค การทำให้แตกตัว กระบวนการผลิตที่ทำให้ความหนาแน่นต่างกัน ส่งผลให้น้ำหนักของเวย์แตกต่างกัน ถึง 8 กรัม หรือเกือบๆ 30 เปอร์เซ็นต์ โดยที่ในกระบวนการผลิตนั้นๆ ไม่สามารถควบคุมให้สินค้าตรงกับฉลากได้
-ในอุตสาหกรรมอาหาร หรือยา มีการตรวจเช็คหรือไม่ครับ ว่าสินค้าผิดพลาดอย่างไร มากแค่ไหน กี่เปอร์เซ็น แล้วควรเรียกคืนหรือไม่ครับ
- อันนี้นอกประเด็นนะครับ สีของตัวเวย์ ที่แตกต่างกัน(รสชาติเดียวกัน) เกิดจากแม่วัวในสภาวะแตกต่างกัน จากคนละแหล่ง ทำให้สีของตัวเวย์แตกต่างกัน แต่คุณภาพ เหมือนเดิม เป็นไปได้ไหมครับที่ไม่สามารถควบคุมให้สีของสินค้าเหมือนกันในทุก lot ได้
ปล.ใครพอจะมีความรู้ทางด้านนี้รบกวนด้วยครับ
ขอบคุณมากๆครับ
ผมขอถามเกี่ยวกับเวย์หน่อยครับ(กรรมวิธี ข้อมูลทางเคมีครับ)
เป็นเวย์ ซึ่งระบุฉลากด้านข้างว่า 1 scoop 28g(จำเลขเป๊ะๆไม่ได้นะครับ ประมาณนี้)
ซึ่งมีผู้ลองชั่งดู ปรากฎว่าชั่งได้แค่ 30 ( ช้อน 10 g ) ซึ่งแปลว่าได้มาแค่ 20 g หายไปถึง 8 g
นี่คือข้อความบางส่วนจากผู้จำหน่ายครับ
- “ปริมาตร” ของเวย์นั้นไม่เท่ากันเสมอไป บางขวดฟูและบางขวดผงก็ดูแน่นๆ , บางอันเนื้อละเอียดและบางอันดูหยาบหน่อย ทั้งนี้อันเนื่องจากปัจจัยการผลิตที่แตกต่างกัน ในแต่ละ LOT ไป
- *** โดยในแต่ละ LOT นั้นความหนาแน่นอาจต่างกันมากถึง 60% ก็เป็นได้ครับ... อ้างอิงจากภาพของกราฟด้านล่างนี้แสดงให้เห็นถึงเวย์ที่เป็นคนละ LOT กัน และมี Particle size แตกต่างกัน
-การทีความหนาแน่นของ LOT หนึ่งต่างไปสู่อีก LOT หนึ่งทำให้ปริมาณที่ตวงต่อครั้งนั้นอาจได้น้ำหนักที่ต่างกัน, LOT ที่มีความหนาแน่นน้อยก็มีการตักที่ได้น้อยกว่า LOT ที่มีความหนาแน่นมาก…. อย่างไรก็ตามน้ำหนักของตัวเนื้อเวย์ทั้งหมดเป็นตัวตัดสินว่าสุดท้ายแล้วสินค้านั้นได้น้ำหนักรวมหรือไม่ครับ
- ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่าความหนาแน่นที่ต่างกันในการผลิตของเวย์โปรตีน
ความหนาแน่น = มวลน้ำหนัก/ปริมาตร
****ปัจจัยที่ทำให้เกิดตัวแปรความหนาแน่น****
Inlet/oulet temperature จากการ Spray dried = อุณหภูมิ ณ ขั้นตอน Spray dried ที่แตกต่างนั้นจะส่งผลต่อความหนาแน่นโดยหากอุณหภูมิของ Inlet (อุณหภูมิเข้า) สูงก็จะส่งผลกระทบต่อความหนาแน่น ทำให้ความหนาแน่นมากขึ้น… อย่างไรก็ตามมีการควบคุมอุณหภูมิ Outlet ไว้ด้วยเพื่อควบคุมอัตราการแห้งเพราะอุณหภูมิมีผลต่อคุณค่าทางสารอาหารของโปรตีน
Atomization = การทำให้แตกตัว โดยหากเครื่อง Atomization ใช้กำลัง WAT สูงเครื่องก็จะแยก Atom ละเอียดขึ้น ทำให้ความหนาแน่นน้อยลง และในทางกลับกันหากไม่ได้เร่งเครื่องมาก การ Atomization ก็จะน้อย นำไปสู่ผงที่หยาบกว่ากและความหนาแน่นที่สูงขึ้น
Feed Flow rate = อัตราการป้อนเข้าตัวเวย์เข้าเครื่อง Spary dried โดยยิ่งการป้อนเร็วเกินไปเท่าไหร่ก็ทำให้ความหนาแน่นเพิ่มขึ้นมากเท่านั้น
Particle shape = รูปร่างของอนุภาคโดยดูได้จากภาพที่โพสซึ่งเป็นการขยายด้วยเครื่อง Electro micrograph ในขนาด 1,000เท่าของเวย์โปรตีน 6ยี่ห้อที่แตกต่างกัน โดยหากมีรูปทรงแบบ Spherical shape (รูปทรงกลม) (รูปแบบ D) นั้นจะทำให้ความหนาแน่นสูงขึ้นเพราะว่ามีอากาศประเภท Interstital air** เข้าไปแทรกได้น้อยลง
Particle หรือรูปร่างที่ต่างกันนั้นมีปัจจัยหรืออยู่ที Nozzle ครับ โดยจะเป็นตัวกำหนดรูป Particle ในการ Spray dried ครั้งนั้นๆนะครับ (ภาพ Nozzle http://www.dairyfoods.com/articles/88615-lechler-announces-new-higher-capacity-tank-cleaning-spray-ball)
อ้างอิง: http://naldc.nal.usda.gov/download/10264/PDF
อ้างอิง #2: http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache%3AxDT3BvXcTAsJ%3Awww.dptc.calpoly.edu%2FnewsletterPDF%2FV3N1.PDF+&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th
- *Occluded air = อากาศที่อยู่ในภายในของแข็งหรือแทรกตัวอยู่ระหว่างของแข็ง ทำให้ปริมาตรเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความหนาแน่นน้อยลง
**Interstitial air = อากาศที่อยู่ระหว่างอนุภาคด้วยกัน สามารถที่จะลดลงได้ด้วยการเพียง “TAP” หรือการเขย่าเพื่อให้เกิดช่องว่างที่น้อยลงระหว่างอนุภาคกับอนุภาค โดย Guideline มักใช้การ TAP ประมาณ 100ครั้ง จึงจะถือว่าไล่อากาศออกไปได้ส่วนนึง
Link ด้านล่างสำหรับหลักการคิด Density ของสิ่งของต่างๆ พร้อมทั้งคำนิยามของตัวแปรต่างๆ
อ้างอิง: http://www.niro.com/niro/cmsdoc.nsf/webdoc/ndkw6u9cd8
- ภาพรวมของปัญหาเรื่องความหนาแน่นก่อนถึงมือท่าน
ปัญหามันอยู่ที่ตามขั้นตอนดังนี้นะครับผม
1) แหล่งของนมว่ามาจากฝากไหนของประเทศ USA, ตะวันออก หรือตะวันตก Characteristic เบื้องต้นของนมเหล่านั้นก็ต่างกันแล้ว
2) ผลิต Whey แบบไหน ION EXCHANGE หรือ CFM cross-flow microfiltration)
3) Spray dired ที่โรงงานไหน... หลายๆคนนั้นอาจจะเข้าใจว่าโรงงานนมเป็นคนทำ Spray dried เองและพวก Instantize เองนะครับ แต่จริงๆแล้ว ทางโรงงานนมหลายๆโรงที่ผลิตเวย์ได้ ไม่มีเครื่องมือก็ต้อง Outsource ไป Spray dried อีกที่นะครับ ทำให้ควบคุมไม่ได้อีก 1ขั้นตอน (Post นี้ที่ผมเขียนไป อธิบายแค่ข้อนี้ ข้อเดียว)
4) การ Settling และการเขย่าของตัวขวดสินค้าหลังจาก Pack แล้วทำให้ผงเวย์มีความหนาแน่นมากขึ้น
นี่คือรูปที่กล่าวถึงโมเลกุลของเวย์ครับ
[img]http://www.uppic.org/thumb-62F4_52088859.jpg[/img]
นี่คือส่วนนึงนะครับ ผมเลยมีคำถาม ว่า
- อยากทราบว่าข้อมูลที่กล่าวถึง จริงเท็จแค่ไหนครับ
-เป็นไปได้ไหมครับ ที่โครงสร้างทางโมเลกุลของเวย์ ที่กล่าวไม่ว่าจะเป็น ช่องว่าง รูปร่างอนุภาค การทำให้แตกตัว กระบวนการผลิตที่ทำให้ความหนาแน่นต่างกัน ส่งผลให้น้ำหนักของเวย์แตกต่างกัน ถึง 8 กรัม หรือเกือบๆ 30 เปอร์เซ็นต์ โดยที่ในกระบวนการผลิตนั้นๆ ไม่สามารถควบคุมให้สินค้าตรงกับฉลากได้
-ในอุตสาหกรรมอาหาร หรือยา มีการตรวจเช็คหรือไม่ครับ ว่าสินค้าผิดพลาดอย่างไร มากแค่ไหน กี่เปอร์เซ็น แล้วควรเรียกคืนหรือไม่ครับ
- อันนี้นอกประเด็นนะครับ สีของตัวเวย์ ที่แตกต่างกัน(รสชาติเดียวกัน) เกิดจากแม่วัวในสภาวะแตกต่างกัน จากคนละแหล่ง ทำให้สีของตัวเวย์แตกต่างกัน แต่คุณภาพ เหมือนเดิม เป็นไปได้ไหมครับที่ไม่สามารถควบคุมให้สีของสินค้าเหมือนกันในทุก lot ได้
ปล.ใครพอจะมีความรู้ทางด้านนี้รบกวนด้วยครับ
ขอบคุณมากๆครับ