ข้อคิดที่ได้จากการอ่านหนังสือวอร์เรนบัฟเฟ็ตต์และการตีความงบการเงิน, นรา สุภัคโรจน์ แปล (page : facebook/ปลูกหุ้นกินผล )
ตอนที่ 1 งบกำไรขาดทุน
1. แหล่งที่มาของรายได้สำคัญกว่าตัวรายได้เสมอ
2. มองหาบริษัทที่ รายได้มากขึ้นสม่ำเสมอ แต่รายรายจ่ายต่ำหรือลดลง
3. กำไรขั้นต้น คือ เงินที่บริษัททำได้จากรายได้ที่เพิ่มขึ้นหลังหักต้นทุนของวัตถุดิบและแรงงาน แต่ยังไม่หักค่าใช้จ่าย
4. ส่วนต่างกำไรขั้นต้น = กำไรขั้นต้น / ยอดรวมรายได้ (ต้องสูงและสม่ำเสมอ)
ส่วนต่างกำไรขั้นต้น > 40% แสดงถึงการได้เปรียบในการแข่งขัน
ส่วนต่างกำไรขั้นต้น < 20% แสดงถึงมีการแข่งขันสูง
5. ระวังเรื่องค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ประกอบด้วย ต้นทุนขาย ต้นทุนการค้นคว้าวิจัย ต้นทุนดอกเบี้ย
หลีกเลี่ยงบริษัทที่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสูง โดยพิจารณา ต้นทุนขายต่อกำไรขั้นต้น
ต้นทุนการค้นคว้าวิจัยต่อกำไรขั้นต้น ต้นทุนดอกเบี้ยต่อกำไรขั้นต้น ยิ่งต่ำยิ่งดี
6. สัดส่วนของ ค่าเสื่อมต่อกำไรขั้นต้น ยิ่งต่ำยิ่งดี
7. ไม่ควรนำรายได้ที่เกิดขึ้นครั้งเดียว เช่น การขายทรัพย์สินถาวร เป็นต้น มาพิจารณาในการคำนวณกำไรสุทธิ
8. พิจารณารายได้ของบริษัทในรูปของรายได้ก่อนหักภาษี
9. พิจารณาว่า กำไรสุทธิสูงขึ้นเรื่อยๆ ไหม มีความสม่ำเสมอไหม
10. อัตราส่วนของ กำไรสุทธิต่อยอดรวมรายได้ ยิ่งสูงยิ่งดี โดยถ้ามากกว่า 20% แสดงถึงความสามารถในการแข่งขันระยะยาว แต่ถ้าน้อยกว่า 10% แสดงถึงมีการแข่งขันสูง
11. พิจารณาว่ากำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น สม่ำเสมอ ไหม โดย ให้ดูภาพรวม 10 ปี ซึ่งกำไรต่อหุ้นก็คืออัตราส่วนของ กำไรสุทธิต่อจำนวนหุ้นที่มีอยู่ในมือผู้ถือหุ้น
https://www.facebook.com/login/roadblock.php?target_url=https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2Fusername%3Ffrom_page%3D198068607020376#!/pages/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%A5/198068607020376
ข้อคิดที่ได้จากการอ่านหนังสือวอร์เรนบัฟเฟ็ตต์และการตีความงบการเงิน
ตอนที่ 1 งบกำไรขาดทุน
1. แหล่งที่มาของรายได้สำคัญกว่าตัวรายได้เสมอ
2. มองหาบริษัทที่ รายได้มากขึ้นสม่ำเสมอ แต่รายรายจ่ายต่ำหรือลดลง
3. กำไรขั้นต้น คือ เงินที่บริษัททำได้จากรายได้ที่เพิ่มขึ้นหลังหักต้นทุนของวัตถุดิบและแรงงาน แต่ยังไม่หักค่าใช้จ่าย
4. ส่วนต่างกำไรขั้นต้น = กำไรขั้นต้น / ยอดรวมรายได้ (ต้องสูงและสม่ำเสมอ)
ส่วนต่างกำไรขั้นต้น > 40% แสดงถึงการได้เปรียบในการแข่งขัน
ส่วนต่างกำไรขั้นต้น < 20% แสดงถึงมีการแข่งขันสูง
5. ระวังเรื่องค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ประกอบด้วย ต้นทุนขาย ต้นทุนการค้นคว้าวิจัย ต้นทุนดอกเบี้ย
หลีกเลี่ยงบริษัทที่มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสูง โดยพิจารณา ต้นทุนขายต่อกำไรขั้นต้น
ต้นทุนการค้นคว้าวิจัยต่อกำไรขั้นต้น ต้นทุนดอกเบี้ยต่อกำไรขั้นต้น ยิ่งต่ำยิ่งดี
6. สัดส่วนของ ค่าเสื่อมต่อกำไรขั้นต้น ยิ่งต่ำยิ่งดี
7. ไม่ควรนำรายได้ที่เกิดขึ้นครั้งเดียว เช่น การขายทรัพย์สินถาวร เป็นต้น มาพิจารณาในการคำนวณกำไรสุทธิ
8. พิจารณารายได้ของบริษัทในรูปของรายได้ก่อนหักภาษี
9. พิจารณาว่า กำไรสุทธิสูงขึ้นเรื่อยๆ ไหม มีความสม่ำเสมอไหม
10. อัตราส่วนของ กำไรสุทธิต่อยอดรวมรายได้ ยิ่งสูงยิ่งดี โดยถ้ามากกว่า 20% แสดงถึงความสามารถในการแข่งขันระยะยาว แต่ถ้าน้อยกว่า 10% แสดงถึงมีการแข่งขันสูง
11. พิจารณาว่ากำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น สม่ำเสมอ ไหม โดย ให้ดูภาพรวม 10 ปี ซึ่งกำไรต่อหุ้นก็คืออัตราส่วนของ กำไรสุทธิต่อจำนวนหุ้นที่มีอยู่ในมือผู้ถือหุ้น
https://www.facebook.com/login/roadblock.php?target_url=https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2Fusername%3Ffrom_page%3D198068607020376#!/pages/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9C%E0%B8%A5/198068607020376