ภาพรวมของการกำหนดปฏิทินจันทรคติไทย คร่าวๆ
---------------------------------------------------
ปฏิทินจันทรคติไทย เป็นปฏิทินที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ที่ใช้มายาวนาน สมัยก่อนๆ
ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นปฏิทินสุริยคติที่ใช้ในสังคมไทย
มาเพียงช่วง 100 ปีเศษมานี้
แต่ในสมัยรัตนโกสินทร์มานี้ คือ หลังกรุงศรีอยุธยาแตกมา
ปฏิทินจันทรคติไทย ยังขาดแนวทางกำหนดแม่นยำ ชัดเจน
และที่สำคัญคือตรงกัน
หลากหลายแหล่ง ก็มีต่างใช้วิธีกันไป
เช่น แหล่งนึงอาจจะใช้ rule ข้อกำหนดแบบนึงกำหนด
ส่วนอีกแหล่งก็ใช้ rule ข้อกำหนดอีกแบบนึงกำหนด
แน่นอนว่า ทุกแนวทาง ก็เคลมว่า แม่นยำ เคลมว่าถูกต้อง ใกล้ธรรมชาติมากๆ
ผลโดยรวมๆ การกำหนดของแต่ละแหล่ง นั้น หลายปีจะตรงกันครับ
เพียงแต่จะมีบางปีที่ย่อมเกิดความเหลื่อมกันได้
และนั่น!! ก็ทำให้เกิดเป็นข้อถกขึ้นเป็นระยะๆในการกำหนดปฏิทินไทยในสมัยรัตนโกสินทร์นั่นเอง
ปัญหา การกำหนดปฏิทินจันทรคติไทย ที่ไม่ตรงกัน นั้น
ได้เว้นระยะมาร่วมเกือบ 10 ปีที่แล้ว ที่เกิดขึ้นครั้งสุดท้าย
แต่ ในช่วงเวลา 3 ปี ติดกันข้างหน้าจะเกิดขึ้นอีกครั้งครับ!
(ปกติ เพียง2 ปี ติดกัน พอดีคราวนี้ มี ปีอธิกมาส มาแทรก)
กล่าวคือ
ผลการกำหนดแต่ละแหล่ง สรุปว่าตอนนี้
ต่างแหล่งต่างแนวทางจะเหลือออกมา ถึง
3 แบบ 2 แบบ เท่านั้น
ที่อาจจะกลายเป็นประเด็นได้อีก
คือ
แบบที่ 1 : ปีหน้า พ.ศ. 2557 วางเป็นปีอธิกวาร : ปีพ.ศ.2558 ปีอธิกมาส : ปี 2559 ปีปกติ
แบบที่ 2 : ปีหน้า พ.ศ. 2557 วางเป็นปีปกติ : ปีพ.ศ. 2558 ปีอธิกมาส : ปี 2559 ปีอธิกวาร
แบบที่ 3 : ปีหน้า พ.ศ. 2557 วางเป็นปีปกติ : ปีพ.ศ. 2558 ปีอธิกวาร : ปี 2559 ?
(ทาง ท่านผู้ที่อยู่ในหน้าที่กำหนดปฏิทินจันทรคติรายปีของราชการ
คราวแรกแจ้งมาให้ผู้เขียน ในลักษณะเป็นแบบที่ 3
ผู้เขียนได้ทักไปในเรื่อง ปีพ.ศ. 2558 จะเป็นปีอธิกมาส
ทาง ท่านผู้ที่อยู่ในหน้าที่ เลยได้ตอบขออภัย แจ้งกลับเป็นแบบที่ 2
ฉะนั้นเหลือ 2 แบบ ครับ)
ฝากผู้ที่พอจะเข้าใจพื้นหลังแนวทางกำหนดปฏิทินจันทรคติไทย
เช่น
- พื้นฐานปฏิทินจันทรคติไทยที่มีการกำหนดที่ยืนพื้นด้วย คัมภีร์สุริยยาตร์ เป็นฐานหลักในการพิจารณา
- ที่มีพื้นฐานการกำหนดที่ยืนพื้นด้วยแบบค่าเฉลี่ย (mean)
หาได้กำหนดแบบตามจริง (apparent) แบบทางดาราศาสตร์แป๊ะๆ
ที่ปกติแล้ว จุด เพ็ญเฉลี่ย (Mean Fullmoon) กับ เพ็ญจริง (True Fullmoon)
จะเหลื่อมกันได้ถึง 0.58 วัน
- หากใช้วันเพ็ญใดวันหนึ่ง lock ให้แม่น เช่น บางแหล่งอาสัย วันอาสาฬหบูชา
จะทำให้ทั้งปีวันเพ็ญโดยรวมเกิดความคลาดเคลื่อนสูงขึ้นมากขึ้นกว่าการดูทั้งปี
(อีกแหล่งถ้าไปใช้อีกวัน เทียบก็จะไม่เหมือนกันเกิดขึ้น ได้)
- เดือนอธิกมาสจริง คำนวณตามปกติ ตกเดือนใดในปีนั้นๆก็ได้
แต่ขณะใช้ ให้คนจำง่าย ให้เสมือนว่ามีเดือน ๘ สองหนแบบเดียว
งานนี้ อาศัยผู้ที่พอเข้าใจพื้นฐานต่างๆ ที่ จำเป็นในปฏิทินจันทรคติไทยตรงนี้
ลองช่วยตรวจสอบกันว่า
แบบที่ 1 ? หรือ แบบที่ 2 ?
หรือแบบที่ 3 ?
ที่จะทำให้ปฏิทินจันทรคติไทยในช่วง 3 ปีข้างหน้า
มีความสอดคล้องตามเงื่อนไขปฏิทินจันทรคติไทยที่แล้วๆมา
และเกิดความแม่นยำ ดีครับ
พร้อมเหตุผล บทพิสูจน์ยืนยันจะดีมาก
(อนึ่ง ในการกำหนดปฏิทินจันทรคติไทยของราชการที่ประกาศแต่ละปีๆ
ในปัจจุบันนี้ได้มี นักดาราศาสตร์เข้าร่วมให้คำแนะนำแล้วครับ
ซึ่งมีการอาศัยฐานข้อมูลทาง Nasa เปรียบเทียบอยู่เช่นกันแล้ว)
ปัญหาปฏิทินจันทรคติไทย 3 ปีข้างหน้า! ที่กำลังจะเกิดขึ้น
---------------------------------------------------
ปฏิทินจันทรคติไทย เป็นปฏิทินที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
ที่ใช้มายาวนาน สมัยก่อนๆ
ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นปฏิทินสุริยคติที่ใช้ในสังคมไทย
มาเพียงช่วง 100 ปีเศษมานี้
แต่ในสมัยรัตนโกสินทร์มานี้ คือ หลังกรุงศรีอยุธยาแตกมา
ปฏิทินจันทรคติไทย ยังขาดแนวทางกำหนดแม่นยำ ชัดเจน
และที่สำคัญคือตรงกัน
หลากหลายแหล่ง ก็มีต่างใช้วิธีกันไป
เช่น แหล่งนึงอาจจะใช้ rule ข้อกำหนดแบบนึงกำหนด
ส่วนอีกแหล่งก็ใช้ rule ข้อกำหนดอีกแบบนึงกำหนด
แน่นอนว่า ทุกแนวทาง ก็เคลมว่า แม่นยำ เคลมว่าถูกต้อง ใกล้ธรรมชาติมากๆ
ผลโดยรวมๆ การกำหนดของแต่ละแหล่ง นั้น หลายปีจะตรงกันครับ
เพียงแต่จะมีบางปีที่ย่อมเกิดความเหลื่อมกันได้
และนั่น!! ก็ทำให้เกิดเป็นข้อถกขึ้นเป็นระยะๆในการกำหนดปฏิทินไทยในสมัยรัตนโกสินทร์นั่นเอง
ปัญหา การกำหนดปฏิทินจันทรคติไทย ที่ไม่ตรงกัน นั้น
ได้เว้นระยะมาร่วมเกือบ 10 ปีที่แล้ว ที่เกิดขึ้นครั้งสุดท้าย
แต่ ในช่วงเวลา 3 ปี ติดกันข้างหน้าจะเกิดขึ้นอีกครั้งครับ!
(ปกติ เพียง2 ปี ติดกัน พอดีคราวนี้ มี ปีอธิกมาส มาแทรก)
กล่าวคือ
ผลการกำหนดแต่ละแหล่ง สรุปว่าตอนนี้
ต่างแหล่งต่างแนวทางจะเหลือออกมา ถึง
3 แบบ2 แบบ เท่านั้นที่อาจจะกลายเป็นประเด็นได้อีก
คือ
แบบที่ 1 : ปีหน้า พ.ศ. 2557 วางเป็นปีอธิกวาร : ปีพ.ศ.2558 ปีอธิกมาส : ปี 2559 ปีปกติ
แบบที่ 2 : ปีหน้า พ.ศ. 2557 วางเป็นปีปกติ : ปีพ.ศ. 2558 ปีอธิกมาส : ปี 2559 ปีอธิกวาร
แบบที่ 3 : ปีหน้า พ.ศ. 2557 วางเป็นปีปกติ : ปีพ.ศ. 2558 ปีอธิกวาร : ปี 2559 ?(ทาง ท่านผู้ที่อยู่ในหน้าที่กำหนดปฏิทินจันทรคติรายปีของราชการ
คราวแรกแจ้งมาให้ผู้เขียน ในลักษณะเป็นแบบที่ 3
ผู้เขียนได้ทักไปในเรื่อง ปีพ.ศ. 2558 จะเป็นปีอธิกมาส
ทาง ท่านผู้ที่อยู่ในหน้าที่ เลยได้ตอบขออภัย แจ้งกลับเป็นแบบที่ 2
ฉะนั้นเหลือ 2 แบบ ครับ)
ฝากผู้ที่พอจะเข้าใจพื้นหลังแนวทางกำหนดปฏิทินจันทรคติไทย
เช่น
- พื้นฐานปฏิทินจันทรคติไทยที่มีการกำหนดที่ยืนพื้นด้วย คัมภีร์สุริยยาตร์ เป็นฐานหลักในการพิจารณา
- ที่มีพื้นฐานการกำหนดที่ยืนพื้นด้วยแบบค่าเฉลี่ย (mean)
หาได้กำหนดแบบตามจริง (apparent) แบบทางดาราศาสตร์แป๊ะๆ
ที่ปกติแล้ว จุด เพ็ญเฉลี่ย (Mean Fullmoon) กับ เพ็ญจริง (True Fullmoon)
จะเหลื่อมกันได้ถึง 0.58 วัน
- หากใช้วันเพ็ญใดวันหนึ่ง lock ให้แม่น เช่น บางแหล่งอาสัย วันอาสาฬหบูชา
จะทำให้ทั้งปีวันเพ็ญโดยรวมเกิดความคลาดเคลื่อนสูงขึ้นมากขึ้นกว่าการดูทั้งปี
(อีกแหล่งถ้าไปใช้อีกวัน เทียบก็จะไม่เหมือนกันเกิดขึ้น ได้)
- เดือนอธิกมาสจริง คำนวณตามปกติ ตกเดือนใดในปีนั้นๆก็ได้
แต่ขณะใช้ ให้คนจำง่าย ให้เสมือนว่ามีเดือน ๘ สองหนแบบเดียว
งานนี้ อาศัยผู้ที่พอเข้าใจพื้นฐานต่างๆ ที่ จำเป็นในปฏิทินจันทรคติไทยตรงนี้
ลองช่วยตรวจสอบกันว่า
แบบที่ 1 ? หรือ แบบที่ 2 ?
หรือแบบที่ 3 ?ที่จะทำให้ปฏิทินจันทรคติไทยในช่วง 3 ปีข้างหน้า
มีความสอดคล้องตามเงื่อนไขปฏิทินจันทรคติไทยที่แล้วๆมา
และเกิดความแม่นยำ ดีครับ
พร้อมเหตุผล บทพิสูจน์ยืนยันจะดีมาก
(อนึ่ง ในการกำหนดปฏิทินจันทรคติไทยของราชการที่ประกาศแต่ละปีๆ
ในปัจจุบันนี้ได้มี นักดาราศาสตร์เข้าร่วมให้คำแนะนำแล้วครับ
ซึ่งมีการอาศัยฐานข้อมูลทาง Nasa เปรียบเทียบอยู่เช่นกันแล้ว)