แนวความคิดการออกเสียงแบบประชาธิปไตยคือการดูที่ Quantity อย่างเดียว คนทุกคนมีสิทธิ และเสียงเท่ากันคือคนละ 1 แต่ประชาธิปไตยไม่ดูที่ Quality คือคุณสมบัติของผุ้ที่มาเลือก นี่คือจุดอ่อนของประชาธิปไตย พื้นฐานบางอย่างที่ไม่เท่ากันของทุก 1 เสียง เช่นพื้นฐานด้านสังคม การศึกษา ศาสนา ฐานะการเงิน ทำให้ 1 เสียงของแต่ละคนมีน้ำหนักที่ต่างกัน แต่เรากลับวัดที่ quantity อย่างเดียว
ข้อเสนอแนะ ที่อยากให้นำไปพิจารณาคือ การทำให้ 1 เสียงของ ทุกคนมีน้ำหนักที่ไม่เท่ากันตามคุณภาพของประชากร ดัวยวิธี WQS (weight quality score) หมายความว่าเป็นการให้คะแนนจากการสำรวจ demographic ของทุกเสียงที่ไปเลือกตั้ง เช่น 1 เสียงของทุกคนมีคะแนนเต็มที่ 100 คะแนน แต่ความแตกต่าง เช่น การศึกษาระดับมัธยม อาจจะได้ score เท่ากับ 20 จบปริญญาตรี ก็ได้ 50 หรือยกตัวอย่าง.. รายได้ 10,000 บาทก็ได้ score 30 รายได้ 100,000 ก็ได้ 80 แล้ว นำปัจจัยถ่วงน้ำหนักเหล่านี้มาคำนวณเพื่อประมวลผลดูว่าแต่ละคนมีน้ำหนักของเสียงตัวเองเท่าไหร่ .. วิธีนี้อาจเป็นวิธีที่ลดจุดอ่อนของระบบประชาธิปไตยในประเทศพิเศษบางประเทศ ที่มีความเหลือมล้ำของสังคมมากๆ อย่างประเทศไทย
PS. ขอแท๊กห้องสมุด เผื่อมีใครสนในเอาไปทำวิจัย
มีใครเคยคิดจะลองใช้วิธี WQS (Weight Quality Score) มาประยุกต์ใช้กับการเลือกตั้งบ้างไหม น่าช่วยแก้ปัญหาในปัจจุบันได้บ้าง
ข้อเสนอแนะ ที่อยากให้นำไปพิจารณาคือ การทำให้ 1 เสียงของ ทุกคนมีน้ำหนักที่ไม่เท่ากันตามคุณภาพของประชากร ดัวยวิธี WQS (weight quality score) หมายความว่าเป็นการให้คะแนนจากการสำรวจ demographic ของทุกเสียงที่ไปเลือกตั้ง เช่น 1 เสียงของทุกคนมีคะแนนเต็มที่ 100 คะแนน แต่ความแตกต่าง เช่น การศึกษาระดับมัธยม อาจจะได้ score เท่ากับ 20 จบปริญญาตรี ก็ได้ 50 หรือยกตัวอย่าง.. รายได้ 10,000 บาทก็ได้ score 30 รายได้ 100,000 ก็ได้ 80 แล้ว นำปัจจัยถ่วงน้ำหนักเหล่านี้มาคำนวณเพื่อประมวลผลดูว่าแต่ละคนมีน้ำหนักของเสียงตัวเองเท่าไหร่ .. วิธีนี้อาจเป็นวิธีที่ลดจุดอ่อนของระบบประชาธิปไตยในประเทศพิเศษบางประเทศ ที่มีความเหลือมล้ำของสังคมมากๆ อย่างประเทศไทย
PS. ขอแท๊กห้องสมุด เผื่อมีใครสนในเอาไปทำวิจัย