หน้ากากขาว ประกาศโค่นล้มระบบทักษิน โดยมีแนวทางการชุมชนโดยมีหน้ากากขาวเป็นสัญลักษณ์ที่ได้รับแบบอย่างมาจากในหนัง และ ถูกใช้เป็นวิธีต้อต้านรัฐบาลหลายประเทศอยู่ในขณะนี้
แต่... อนิจจา ชีวิตจริงต่างจากละคร ทั้งในอินโด ตุรกี บลาซิล ซึ่งหลายคนหวั่นว่ามันกำลังจะเกิดขึ้นในประเทศไทย
อันที่จริง ระบอบ"ทักษิน" เป็น แบรนด์ หรือ เป็นเพียง สัญลักษณ์ของระบบการปกครอง การเมือง และ ราชการ ในรูปแบบปัจจุบัน ต่อให้ ท่านทักษิน เสียชีวิต ก็อาจเพียงเปลี่ยนชื่อไปเป็นอย่างอื่น และยังจะมีกลุ่มคน คณะ ที่พยายามรักษาความได้เปรียบในการเข้าถึง อำนาจ และ ผลประโยชน์จากลักษณะของการปกครองแบบนี้
แล้วทีนี้ ระบบทักษิน คืออะไร ? ซึ่งเป็นคำตอบที่กว้างขวางและซับซ้อน แต่ก็จะมีคำตอบแบบกว้างๆ คือ เริ่มตั้งแต่ การสร้าง การกำหนดทัศนคติ ความเชื่อ ของประชาชนทั่วไป ด้วยกลยุทธการสื่อสารการตลาด ซึ่งสิ่งนี้ ทำให้สามารถทำให้คนยังมีความหวัง และศรัทธากับ ระบบที่หลอกลวงซ้ำแล้วซ้ำเหล่า ตั้งแต่ยุคเริ่มแรก อาทิ คนจนจะหมดจากประเทศไทย ขับเคลื่อนด้วยการลงทะเบียนคนจน นโยบายเรียนฟรี ที่ปัจจุบัน ต้องจ่ายเพิ่มเป็นทวีคูณ จนถึงปัจจุบัน คนส่วนใหญ่ยังคงยอมรับการบริหารที่พิสดาร เช่นการรับจำนำข้าวที่ไม่มีแม้ตัวเลข ของจำนวนข้าว ที่รับมา และที่เหลืออยู่
ในระดับชุมชน มุ่งให้ผลประโยชน์กับกลุ่มคนที่มีบทบาททางสังคม และ เครือข่ายที่มีความเข้มแข็ง ผ่านโครงการต่างๆ ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้ จะกลายเป็นเครือข่ายด้านการข่าวในชุมชนที่ทรงอิทธิพล แม้จะเป็นคนส่วนน้อยในชุมชนก็ตาม และกลายเป็น ฐานเสียงของนักการเมืองท้องถิ่นไปโดยปริยาย ซึ่งพร้อมจะเข้าข้างทุกฝ่ายที่ให้ผลประโยชน์แก่พวกตนได้มากกว่า (นี่เป็นอีกสาเหตุว่าทำไม ต่อให้ พรรคของทักษินออกไป พวกเขาก็จะเรียกร้องให้ทักษินกลับมาทันที ถ้าพรรคใหม่ที่เข้ามาให้ผลประโยชน์แก่พวกเขาน้อยกว่า) ทั้งแบบถูกกฏหมาย คือ นโยบายประชานิยม (ท่อน้ำเลี้ยง) และ ผิดกฏหมาย คือ ธุริกจสีเทา บ่อนการพนัน หวยใต้ดิน โดยเฉพาะ ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ (ที่มีความพยายามปลดแอกกลุ่มคนพวกนี้ออกจากการเป็นเครื่องมือทางการเมือง ด้วย โฉนดชุมชน แต่ กลุ่มคนที่ต้องการยึดครองและขายต่อ หรือ เป็๋นเครื่องมือนายทุนตั้งแต่แรกก็ไม่เอาด้วย)
ในระดับท้องถิ่น นอกจากนักการเมือง ซึ่งแกือบทั้งหมด เป็นผู้ทรงอิทธิพล ทางด้านเศรษฐกิจ ซี่งแน่นอนว่า เครือข่ายของธุรกิจก็จะกลายเป็นเครือข่ายทางการเมืองไปโดยปริยาย ซึ่งเป็นกลุ่มคนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ จะนิยมรูปแบบการเมืองระบอบทักษิน ที่เน้นสร้างภาพลักษณ์ ด้วยกลยุทธทางการสื่อสารการตลาด ใช้ทุนของธุรกิจตัวเองหรือเครือข่าย หรือ งบประมาณแผ่นดิน ครอบงำสื่อท้องถิ่นด้วย การให้ผลประโยชน์คือ โฆษณา (หรือ สร้างสื่อของตัวเองเลยก็มี) เช่นเดียวกับ หน่วยงานราชการระดับท้องถิ่น เพราะการทำงานเชิงการตลาดมันง่ายกว่า และ เข้าไปมีผลประโยชน์ได้ง่ายกว่า ทั้งโดยสุจริต และ ทุจริต
ซึ่งกลุ่มคนข้างต้นเหล่านี้ ทั้งในระดับชุมชน และท้องถิ่น จะกลายเป็นกลุ่มก้อนเครือข่ายขนาดใหญ่ ที่ได้สร้างภาพลักษณ์ให้เป็นผู้ที่มีบทบาทมีหน้ามีตาทางสังคม ด้วยสื่อในท้องถิ่น ตลอดจนการเข้าถึง สิทธิ์ ในการได้รับผลประโยชน์ เหนือประชาชนทั่วไป ซึ่งผลประโยชน์เหล่านั้น ก็จัดลำดับไปตามฐานะของแต่ละคน
เช่น - ระดับเกษตรกร ผู้ค้า (คนส่วนน้อย) นอกจากมีบทบาทในสังคม ก็ได้รับผลประโยชน์จากการแจกจ่าย ให้ความรู้ผ่านงานสัมนาทางวิชาการ ทัศนศึกษาดูงาน งานจัดแสดงสินค้า เงินสนับสนุนอุดหนุนจากโครงการ ทั้งของรัฐบาล หน่วยงานท้องถิ่น องค์กรปกครอง ซึ่งได้ชื่อว่า เป็นกลุ่มที่เข้าถึงผลประโยชน์ก่อนประชาชนทั่วไป
-แกนนำเครือข่าย ข้าราชการ ก็ได้สิทธิ์ในการรับช่วง บริหาร เงินงบประมาณ
-นักธุรกิจ ก็ได้ประโยชน์จากการรับเหมาช่วงจากหน่วยงานรัฐ เช่น ธุรกิจสื่อ ป้ายฆษณา รับเหมางานราชการ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งบประมาณ, เครือข่ายธุรกิจส่วนตัวของนักการเมืองที่เชื่อมโยงเกี่ยวข้อง เช่น ก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ อุตสหกรรมท่องเที่ยว ฯลฯ และ หนังสืออนุญาติจากทางราชการ
-นักการเมือง ก็ได้ประโยชน์ จากความไม่โปร่งใสในการบริหาร หละหลวมเรื่องการตรวจสอบ อำนาจต่างๆ เช่นการออกใบอนุญาติ ส่วนแบ่งผลประโยชน์จากโครงการต่างๆ
-โดยเฉพาะ ธุรกิจสีเทาๆ ในพื้นที่ จะเป็นฝ่ายอิทธิพลมืดจะเป็นเครื่องมือครอบงำ คนในพื้นที่ เพราะนอกจากจะยังรักษาผลประโยชน์ของตนเองแล้ว ถ้าตั้งตัวเป็นอริศัตรูต่อรัฐบาล ก็จะโดนเครื่องมือทางกฏหมายจัดการในที่สุด โดยเฉพาะ กลุ่มทุนที่เคยอยู่ฝ่ายตรองข้าม ถ้าไม่รีบสวามิภักดิ์ ก็โดนกฏหมายจัดการแทบทุกรายไป
ในระดับ ส่วนกลาง มีทั้งการทุรจริตเชิงนโยบาย และการธุรกิจในโครงการ โดยอาศัยเสียงข้างมากในสภา และการใช้สื่อ สถานการณ์ที่เอื้อประโยชน์ในการ บริหารและถรักษาอำนาจบริหาร และ ใช้อำนาจนิติบัญญัติ ทำกฏหมายให้เอื้อประโยชน์แก่ กลุ่มของพวกตน และ ธุรกิจของกลุ่มพวกตน และ กลุ่มธุรกิจที่สามารถดึงเข้ามาร่วมเครือข่ายทางการเมือง ด้วยการครอบงำกลไกการตรวจสอบ ใช้มวลชนข้างต้นเป็นเครื่องมือขับเคลื่อน ต่อต้าน และ ทำลาย กลุ่มคน หน่วยงาน ที่ขัดขวางผลประโยชน์
ซึ่งทั้งหมดนี้(ยังไม่หมด) เป็นระบบการทำงาน ที่มี "ทักษิน" เป็นสัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมายทางการค้า เท่านั้น มันยังสามารถขับเคลื่อนไปด้วยตัวมันเอง แม้ไม่มี คนชื่อ ทักษิน ก็ตาม
คำถามต่อมาคือในเมื่อรู้ว่า ระบบนี้ กำลังนำพาบ้านเมืองไปสู่หายนะ แล้วจะแก้ไขกันอย่างไร
ชาวหน้ากากขาวจะทำอย่างไร
ชีวิตจริง ไม่ใช่ในหนัง "สกายวอร์ค" หน้าการขาว ที่มีชื่อเสียงกระฉ่อน กระจายไปในหลายประเทศในขณะนี้ ดังภาพสถานการณ์ ในอินโอนีเซีย ตุรกี บลาซิล ที่นอกจากจะไม่ตอบโจทย์ แล้วยังซ้ำเติมบ้านเมืองให้บอกซ้ำซึ่งยังมองไม่เห็นแม้แสงสว่างปลายอุโมงค์ ซึ่งช่างต่างจากในหนังโดยสิ้นเชิง
แล้วหน้ากาขาวในประเทศไทย จะเจริญรอยตามประเทศเหล่านั้นต่อไปหรือไม่ ด้วยวิธีการใด
หน้ากากขาว จะทำอะไรกับ ระบบทักษิน
แต่... อนิจจา ชีวิตจริงต่างจากละคร ทั้งในอินโด ตุรกี บลาซิล ซึ่งหลายคนหวั่นว่ามันกำลังจะเกิดขึ้นในประเทศไทย
อันที่จริง ระบอบ"ทักษิน" เป็น แบรนด์ หรือ เป็นเพียง สัญลักษณ์ของระบบการปกครอง การเมือง และ ราชการ ในรูปแบบปัจจุบัน ต่อให้ ท่านทักษิน เสียชีวิต ก็อาจเพียงเปลี่ยนชื่อไปเป็นอย่างอื่น และยังจะมีกลุ่มคน คณะ ที่พยายามรักษาความได้เปรียบในการเข้าถึง อำนาจ และ ผลประโยชน์จากลักษณะของการปกครองแบบนี้
แล้วทีนี้ ระบบทักษิน คืออะไร ? ซึ่งเป็นคำตอบที่กว้างขวางและซับซ้อน แต่ก็จะมีคำตอบแบบกว้างๆ คือ เริ่มตั้งแต่ การสร้าง การกำหนดทัศนคติ ความเชื่อ ของประชาชนทั่วไป ด้วยกลยุทธการสื่อสารการตลาด ซึ่งสิ่งนี้ ทำให้สามารถทำให้คนยังมีความหวัง และศรัทธากับ ระบบที่หลอกลวงซ้ำแล้วซ้ำเหล่า ตั้งแต่ยุคเริ่มแรก อาทิ คนจนจะหมดจากประเทศไทย ขับเคลื่อนด้วยการลงทะเบียนคนจน นโยบายเรียนฟรี ที่ปัจจุบัน ต้องจ่ายเพิ่มเป็นทวีคูณ จนถึงปัจจุบัน คนส่วนใหญ่ยังคงยอมรับการบริหารที่พิสดาร เช่นการรับจำนำข้าวที่ไม่มีแม้ตัวเลข ของจำนวนข้าว ที่รับมา และที่เหลืออยู่
ในระดับชุมชน มุ่งให้ผลประโยชน์กับกลุ่มคนที่มีบทบาททางสังคม และ เครือข่ายที่มีความเข้มแข็ง ผ่านโครงการต่างๆ ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้ จะกลายเป็นเครือข่ายด้านการข่าวในชุมชนที่ทรงอิทธิพล แม้จะเป็นคนส่วนน้อยในชุมชนก็ตาม และกลายเป็น ฐานเสียงของนักการเมืองท้องถิ่นไปโดยปริยาย ซึ่งพร้อมจะเข้าข้างทุกฝ่ายที่ให้ผลประโยชน์แก่พวกตนได้มากกว่า (นี่เป็นอีกสาเหตุว่าทำไม ต่อให้ พรรคของทักษินออกไป พวกเขาก็จะเรียกร้องให้ทักษินกลับมาทันที ถ้าพรรคใหม่ที่เข้ามาให้ผลประโยชน์แก่พวกเขาน้อยกว่า) ทั้งแบบถูกกฏหมาย คือ นโยบายประชานิยม (ท่อน้ำเลี้ยง) และ ผิดกฏหมาย คือ ธุริกจสีเทา บ่อนการพนัน หวยใต้ดิน โดยเฉพาะ ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ (ที่มีความพยายามปลดแอกกลุ่มคนพวกนี้ออกจากการเป็นเครื่องมือทางการเมือง ด้วย โฉนดชุมชน แต่ กลุ่มคนที่ต้องการยึดครองและขายต่อ หรือ เป็๋นเครื่องมือนายทุนตั้งแต่แรกก็ไม่เอาด้วย)
ในระดับท้องถิ่น นอกจากนักการเมือง ซึ่งแกือบทั้งหมด เป็นผู้ทรงอิทธิพล ทางด้านเศรษฐกิจ ซี่งแน่นอนว่า เครือข่ายของธุรกิจก็จะกลายเป็นเครือข่ายทางการเมืองไปโดยปริยาย ซึ่งเป็นกลุ่มคนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ จะนิยมรูปแบบการเมืองระบอบทักษิน ที่เน้นสร้างภาพลักษณ์ ด้วยกลยุทธทางการสื่อสารการตลาด ใช้ทุนของธุรกิจตัวเองหรือเครือข่าย หรือ งบประมาณแผ่นดิน ครอบงำสื่อท้องถิ่นด้วย การให้ผลประโยชน์คือ โฆษณา (หรือ สร้างสื่อของตัวเองเลยก็มี) เช่นเดียวกับ หน่วยงานราชการระดับท้องถิ่น เพราะการทำงานเชิงการตลาดมันง่ายกว่า และ เข้าไปมีผลประโยชน์ได้ง่ายกว่า ทั้งโดยสุจริต และ ทุจริต
ซึ่งกลุ่มคนข้างต้นเหล่านี้ ทั้งในระดับชุมชน และท้องถิ่น จะกลายเป็นกลุ่มก้อนเครือข่ายขนาดใหญ่ ที่ได้สร้างภาพลักษณ์ให้เป็นผู้ที่มีบทบาทมีหน้ามีตาทางสังคม ด้วยสื่อในท้องถิ่น ตลอดจนการเข้าถึง สิทธิ์ ในการได้รับผลประโยชน์ เหนือประชาชนทั่วไป ซึ่งผลประโยชน์เหล่านั้น ก็จัดลำดับไปตามฐานะของแต่ละคน
เช่น - ระดับเกษตรกร ผู้ค้า (คนส่วนน้อย) นอกจากมีบทบาทในสังคม ก็ได้รับผลประโยชน์จากการแจกจ่าย ให้ความรู้ผ่านงานสัมนาทางวิชาการ ทัศนศึกษาดูงาน งานจัดแสดงสินค้า เงินสนับสนุนอุดหนุนจากโครงการ ทั้งของรัฐบาล หน่วยงานท้องถิ่น องค์กรปกครอง ซึ่งได้ชื่อว่า เป็นกลุ่มที่เข้าถึงผลประโยชน์ก่อนประชาชนทั่วไป
-แกนนำเครือข่าย ข้าราชการ ก็ได้สิทธิ์ในการรับช่วง บริหาร เงินงบประมาณ
-นักธุรกิจ ก็ได้ประโยชน์จากการรับเหมาช่วงจากหน่วยงานรัฐ เช่น ธุรกิจสื่อ ป้ายฆษณา รับเหมางานราชการ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งบประมาณ, เครือข่ายธุรกิจส่วนตัวของนักการเมืองที่เชื่อมโยงเกี่ยวข้อง เช่น ก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ อุตสหกรรมท่องเที่ยว ฯลฯ และ หนังสืออนุญาติจากทางราชการ
-นักการเมือง ก็ได้ประโยชน์ จากความไม่โปร่งใสในการบริหาร หละหลวมเรื่องการตรวจสอบ อำนาจต่างๆ เช่นการออกใบอนุญาติ ส่วนแบ่งผลประโยชน์จากโครงการต่างๆ
-โดยเฉพาะ ธุรกิจสีเทาๆ ในพื้นที่ จะเป็นฝ่ายอิทธิพลมืดจะเป็นเครื่องมือครอบงำ คนในพื้นที่ เพราะนอกจากจะยังรักษาผลประโยชน์ของตนเองแล้ว ถ้าตั้งตัวเป็นอริศัตรูต่อรัฐบาล ก็จะโดนเครื่องมือทางกฏหมายจัดการในที่สุด โดยเฉพาะ กลุ่มทุนที่เคยอยู่ฝ่ายตรองข้าม ถ้าไม่รีบสวามิภักดิ์ ก็โดนกฏหมายจัดการแทบทุกรายไป
ในระดับ ส่วนกลาง มีทั้งการทุรจริตเชิงนโยบาย และการธุรกิจในโครงการ โดยอาศัยเสียงข้างมากในสภา และการใช้สื่อ สถานการณ์ที่เอื้อประโยชน์ในการ บริหารและถรักษาอำนาจบริหาร และ ใช้อำนาจนิติบัญญัติ ทำกฏหมายให้เอื้อประโยชน์แก่ กลุ่มของพวกตน และ ธุรกิจของกลุ่มพวกตน และ กลุ่มธุรกิจที่สามารถดึงเข้ามาร่วมเครือข่ายทางการเมือง ด้วยการครอบงำกลไกการตรวจสอบ ใช้มวลชนข้างต้นเป็นเครื่องมือขับเคลื่อน ต่อต้าน และ ทำลาย กลุ่มคน หน่วยงาน ที่ขัดขวางผลประโยชน์
ซึ่งทั้งหมดนี้(ยังไม่หมด) เป็นระบบการทำงาน ที่มี "ทักษิน" เป็นสัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมายทางการค้า เท่านั้น มันยังสามารถขับเคลื่อนไปด้วยตัวมันเอง แม้ไม่มี คนชื่อ ทักษิน ก็ตาม
คำถามต่อมาคือในเมื่อรู้ว่า ระบบนี้ กำลังนำพาบ้านเมืองไปสู่หายนะ แล้วจะแก้ไขกันอย่างไร
ชาวหน้ากากขาวจะทำอย่างไร
ชีวิตจริง ไม่ใช่ในหนัง "สกายวอร์ค" หน้าการขาว ที่มีชื่อเสียงกระฉ่อน กระจายไปในหลายประเทศในขณะนี้ ดังภาพสถานการณ์ ในอินโอนีเซีย ตุรกี บลาซิล ที่นอกจากจะไม่ตอบโจทย์ แล้วยังซ้ำเติมบ้านเมืองให้บอกซ้ำซึ่งยังมองไม่เห็นแม้แสงสว่างปลายอุโมงค์ ซึ่งช่างต่างจากในหนังโดยสิ้นเชิง
แล้วหน้ากาขาวในประเทศไทย จะเจริญรอยตามประเทศเหล่านั้นต่อไปหรือไม่ ด้วยวิธีการใด