ก่อนอื่น ขออนุญาติใช้ไทยคำ อังกฤษคำนะคะ
กำลังพยายามทำความเข้าใจกับความหมายของ Brand Enactment ค่ะ ใครพอจะช่วยอธิบาย ให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ไหมคะ
เป็นเรื่อง Brand space ค่ะ คือ brand จะมี perceptions สองแบบ abstract / enactment
แต่ละอันก็จะแตกข้อปลีกย่อยต่อ
1) Reified Functional brand
2) Reified Enact brand
3) Abstract functional brand
4) Abstract Enact brand
ความหมาย Enactment deals with functional performance, what a product can do versus what the brand means to consumers or buyers. ที่เขาให้ตัวอย่างมาเช่น Harrods, Neiman, Marcus, Calvin Klein ( Borthon P. & Holbrook M. (2003), understanding and Managing the Brand Space)
แต่สงสัยต่อ ตัวอย่างเหล่านั้น มันไม่ใช่ จัดอยู่ในกลุ่ม abstraction เหรอ8t เช่น Calvin Klein, Gucci, LV represent elegance, luxurious, fashionable, trendy, classic etc. คือมันสามารถตีความหมายต่อได้ ใน scope ของมันเอง (ใช่หรือไม่คะ)
ถ้าใช่แล้วทำไม เท็กซ์ถึงจัด Calvin Klein ให้อยู่ในกลุ่ม enactment , โดยความเข้าใจเรา เมื่อพูดถึง เคลวิน ไคล perception อะไรที่คุณนึกถึง ก็แสดงว่า แบรนด์มี identity ที่เป็นนามธรรม ก็น่าจะจัดอยู่ในกลุ่ม abstract แต่ถ้าพูดถึง แบรนด์ มาม่า มีความหมายอันเดียวแน่นอน ว่าคือเส้นหมี่กึ่งสำเร็จรูป ผลิตภันณฑ์ ก็คือบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ไม่ต้องตีความอะไรต่อ อันนี้แน่นอนว่าเป็น functionality
โอ๊ยย งง มากค่ะ วานผู้รู้ช่วยอธิบายหน่อยนะคะ ขอบคุณมาก ๆๆ ค่ะ
(เรียนเองไม่มีใครให้ถามอะค่ะ ปกติถ้าอ่านภาคอังกฤษไม่เคลียรก็หาอ่านภาค ภาษาไทยต่อ แต่อันนี้หาไม่เจอเลย ต้องทำการบ้านส่งด้วย ฮือ ๆ)
(การตลาด) Brand Enactment คืออะไร
กำลังพยายามทำความเข้าใจกับความหมายของ Brand Enactment ค่ะ ใครพอจะช่วยอธิบาย ให้เข้าใจง่าย ๆ ได้ไหมคะ
เป็นเรื่อง Brand space ค่ะ คือ brand จะมี perceptions สองแบบ abstract / enactment
แต่ละอันก็จะแตกข้อปลีกย่อยต่อ
1) Reified Functional brand
2) Reified Enact brand
3) Abstract functional brand
4) Abstract Enact brand
ความหมาย Enactment deals with functional performance, what a product can do versus what the brand means to consumers or buyers. ที่เขาให้ตัวอย่างมาเช่น Harrods, Neiman, Marcus, Calvin Klein ( Borthon P. & Holbrook M. (2003), understanding and Managing the Brand Space)
แต่สงสัยต่อ ตัวอย่างเหล่านั้น มันไม่ใช่ จัดอยู่ในกลุ่ม abstraction เหรอ8t เช่น Calvin Klein, Gucci, LV represent elegance, luxurious, fashionable, trendy, classic etc. คือมันสามารถตีความหมายต่อได้ ใน scope ของมันเอง (ใช่หรือไม่คะ)
ถ้าใช่แล้วทำไม เท็กซ์ถึงจัด Calvin Klein ให้อยู่ในกลุ่ม enactment , โดยความเข้าใจเรา เมื่อพูดถึง เคลวิน ไคล perception อะไรที่คุณนึกถึง ก็แสดงว่า แบรนด์มี identity ที่เป็นนามธรรม ก็น่าจะจัดอยู่ในกลุ่ม abstract แต่ถ้าพูดถึง แบรนด์ มาม่า มีความหมายอันเดียวแน่นอน ว่าคือเส้นหมี่กึ่งสำเร็จรูป ผลิตภันณฑ์ ก็คือบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ไม่ต้องตีความอะไรต่อ อันนี้แน่นอนว่าเป็น functionality
โอ๊ยย งง มากค่ะ วานผู้รู้ช่วยอธิบายหน่อยนะคะ ขอบคุณมาก ๆๆ ค่ะ
(เรียนเองไม่มีใครให้ถามอะค่ะ ปกติถ้าอ่านภาคอังกฤษไม่เคลียรก็หาอ่านภาค ภาษาไทยต่อ แต่อันนี้หาไม่เจอเลย ต้องทำการบ้านส่งด้วย ฮือ ๆ)