คือผมอยากถามพวกแดง พวกรักทักษิณ ว่าปรชาธิปไตยคืออะไร ผมว่ามันเป็นอะไรที่นามธรรมากๆเลย เป็นข้อต่อสู้ทางการเมืองมากกว่าครับ
แต่ ความดี นี่สิ เป็นรูปธรรมกว่าเยอะ ผมเชื่อว่า คนดีเท่านั้นที่เป็นผู้ปกครองได้ อย่าให้คนไม่ดีขึ้นมาปกครอง
เราน่าจะตั้ง สถาบันการตรวจสอบความดี ขึ้นมาคอยวัดตรวจสอบว่า ใครเป็นคนดี ไม่ดี
แล้วจัดเรตติ้ง ใครดีที่ 1 เป็นนายก รองนายก รมต สส ก็คะแนนรองลงไป
ผมเชื่อว่าภายในอย่างช้า 10 ปี รัฐไทยจะเป็นอุตมรัฐในฝันของนักปราชญ์กรีกคือ เพลโต
จะมีการศึกษาจาก ตปท มากมายเพื่อเป็นกรณีศึกษา
แล้วอาจจะเป็นครั้งแรกคนไทยทุกคนจะได้รางวัล โนเบล
ข้อมูลจากวิกิพิเดียเกี่ยวกับอุตมรัฐครับ
อุตมรัฐ (กรีก: Πολιτεία, มีความหมายว่า "การปกครองที่ดีที่สุด"; ละติน: Res Publica, มีความหมายว่า "กิจการสาธารณะ"; อังกฤษ: The Republic) เป็นบทสนทนาของโสกราตีสที่เขียนโดยเพลโต ประมาณ 360 ปีก่อนคริสตกาล เป็นหนึ่งในบรรดางานเขียนที่มีอิทธิพลต่อทฤษฎีทางด้านปรัชญาและการปกครองอย่างมากที่สุด และเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของเพลโต เนื้อหาในเรื่องเป็นการสนทนาระหว่างโสกราตีสกับชาวกรุงเอเธนส์ และชาวต่างชาติอีกจำนวนหนึ่ง ที่ถกเถียงกันเกี่ยวกับเรื่องความยุติธรรม และข้อสงสัยว่าผู้มีใจเป็นธรรมจะมีความสุขมากกว่าผู้มีใจคดหรือไม่หากมีนครในอุดมคติ โดยที่นครแห่งนี้ปกครองโดยกษัตริย์ผู้เป็นปราชญ์ บทสนทนาแสดงให้เห็นถึงลักษณะของนักปรัชญา รูปแบบและความขัดแย้งระหว่างแนวคิดทางปรัชญากับงานกวีนิพนธ์ รวมถึงสื่อให้เห็นจิตวิญญาณอันเป็นอมตะ
ผมเป็นสลิ่มที่ฝักใฝ่ประชาธิปไตยบ้างฝักใฝ่คนดีบ้าง แล้วแต่โอกาส
แต่ ความดี นี่สิ เป็นรูปธรรมกว่าเยอะ ผมเชื่อว่า คนดีเท่านั้นที่เป็นผู้ปกครองได้ อย่าให้คนไม่ดีขึ้นมาปกครอง
เราน่าจะตั้ง สถาบันการตรวจสอบความดี ขึ้นมาคอยวัดตรวจสอบว่า ใครเป็นคนดี ไม่ดี
แล้วจัดเรตติ้ง ใครดีที่ 1 เป็นนายก รองนายก รมต สส ก็คะแนนรองลงไป
ผมเชื่อว่าภายในอย่างช้า 10 ปี รัฐไทยจะเป็นอุตมรัฐในฝันของนักปราชญ์กรีกคือ เพลโต
จะมีการศึกษาจาก ตปท มากมายเพื่อเป็นกรณีศึกษา
แล้วอาจจะเป็นครั้งแรกคนไทยทุกคนจะได้รางวัล โนเบล
ข้อมูลจากวิกิพิเดียเกี่ยวกับอุตมรัฐครับ
อุตมรัฐ (กรีก: Πολιτεία, มีความหมายว่า "การปกครองที่ดีที่สุด"; ละติน: Res Publica, มีความหมายว่า "กิจการสาธารณะ"; อังกฤษ: The Republic) เป็นบทสนทนาของโสกราตีสที่เขียนโดยเพลโต ประมาณ 360 ปีก่อนคริสตกาล เป็นหนึ่งในบรรดางานเขียนที่มีอิทธิพลต่อทฤษฎีทางด้านปรัชญาและการปกครองอย่างมากที่สุด และเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของเพลโต เนื้อหาในเรื่องเป็นการสนทนาระหว่างโสกราตีสกับชาวกรุงเอเธนส์ และชาวต่างชาติอีกจำนวนหนึ่ง ที่ถกเถียงกันเกี่ยวกับเรื่องความยุติธรรม และข้อสงสัยว่าผู้มีใจเป็นธรรมจะมีความสุขมากกว่าผู้มีใจคดหรือไม่หากมีนครในอุดมคติ โดยที่นครแห่งนี้ปกครองโดยกษัตริย์ผู้เป็นปราชญ์ บทสนทนาแสดงให้เห็นถึงลักษณะของนักปรัชญา รูปแบบและความขัดแย้งระหว่างแนวคิดทางปรัชญากับงานกวีนิพนธ์ รวมถึงสื่อให้เห็นจิตวิญญาณอันเป็นอมตะ