สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 8
ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 686 ลูกหนี้ผิดนัดลงเมื่อใด ท่านว่าเจ้าหนี้ชอบที่จะเรียก ให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ได้แต่นั้น
สัญญาค้ำประกันก่อเกิดสิทธิและหน้าที่ในทางทรัพย์สิน ไม่ใช่สิทธิและหน้าที่เฉพาะบุคคลของผู้ค้ำประกัน สัญญาค้ำประกันจึงไม่ระงับ เมื่อผู้ค้ำประกันเสียชีวิต หน้าที่จึงตกแก่ทายาท ซึ่งต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกัน แต่ไม่รับผิดเกินกว่าทรัพย์มรดกที่ได้รับมา
ประเด็น "หน้าที่ของผู้ค้ำประกัน"ขณะเสียชีวิต เกิดขึ้นหรือยัง
แนว กม. มองว่า หน้าที่ของผู้ค้ำประกันจะเกิด เมื่อ ลูกหนี้ผิดนัด แล้วเท่านั้น ตาม ปพ. 686
แต่เมื่อ ผู้ค้ำฯ เสียชีวิต ก่อน ลูกหนี้ผิดนัด
ก็แสดงว่าขณะ เสียชีวิต ผู้ตาย ไม่มีการรับผิดในฐานะผู้ค้ำประกัน
เพราะหน้าที่ของผู้ค้ำประกันยังไม่เกิด..นั้นเอง
ในกรณีนี้ หาก ภายหลัง ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้
ทนายเจ้าหนี้ อาจจะทำเป็นมึน ฟ้อง ลูกหนี้เป็นจำเลยที่ 1 ผู้ค้ำเป็นจำเลยที่2 ทายาทผู้ค้ำเป็นจำเลยที่3 ก็ได้
แต่ ทายาทผู้ค้ำฯ ต้องไปขึ้น สู้คดี นะครับ ห้ามทำตัวตามสบาย แล้วไม่ไปศาล เด็จขาด และต้องสู้ในประเด็น ผู้ค้ำเสียชีวิตก่อน หนี้ประธาน(หนี้ผิดการนัดชำระเงินของลูกหนี้) เกิดขึ้น
เพราะถึงแม้ว่า ท่าน อาจจะถูกต้อง แต่ ไม่ไปสู้คดีในศาล
ศาลอาจจะพิพากษา ให้ท่านแพ้คดี และให้ชำระหนี้ ตามคำขอท้ายฟ้อง ของฝ่ายโจทก์ ได้
แทนที่จะไม่ต้องจ่ายหนี้ค้ำประกัน กลับต้องชำระหนี้บวกดอกเบี้ย ทั้งๆที่ไม่ผิด ก้ได้
สัญญาค้ำประกันก่อเกิดสิทธิและหน้าที่ในทางทรัพย์สิน ไม่ใช่สิทธิและหน้าที่เฉพาะบุคคลของผู้ค้ำประกัน สัญญาค้ำประกันจึงไม่ระงับ เมื่อผู้ค้ำประกันเสียชีวิต หน้าที่จึงตกแก่ทายาท ซึ่งต้องรับผิดตามสัญญาค้ำประกัน แต่ไม่รับผิดเกินกว่าทรัพย์มรดกที่ได้รับมา
ประเด็น "หน้าที่ของผู้ค้ำประกัน"ขณะเสียชีวิต เกิดขึ้นหรือยัง
แนว กม. มองว่า หน้าที่ของผู้ค้ำประกันจะเกิด เมื่อ ลูกหนี้ผิดนัด แล้วเท่านั้น ตาม ปพ. 686
แต่เมื่อ ผู้ค้ำฯ เสียชีวิต ก่อน ลูกหนี้ผิดนัด
ก็แสดงว่าขณะ เสียชีวิต ผู้ตาย ไม่มีการรับผิดในฐานะผู้ค้ำประกัน
เพราะหน้าที่ของผู้ค้ำประกันยังไม่เกิด..นั้นเอง
ในกรณีนี้ หาก ภายหลัง ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้
ทนายเจ้าหนี้ อาจจะทำเป็นมึน ฟ้อง ลูกหนี้เป็นจำเลยที่ 1 ผู้ค้ำเป็นจำเลยที่2 ทายาทผู้ค้ำเป็นจำเลยที่3 ก็ได้
แต่ ทายาทผู้ค้ำฯ ต้องไปขึ้น สู้คดี นะครับ ห้ามทำตัวตามสบาย แล้วไม่ไปศาล เด็จขาด และต้องสู้ในประเด็น ผู้ค้ำเสียชีวิตก่อน หนี้ประธาน(หนี้ผิดการนัดชำระเงินของลูกหนี้) เกิดขึ้น
เพราะถึงแม้ว่า ท่าน อาจจะถูกต้อง แต่ ไม่ไปสู้คดีในศาล
ศาลอาจจะพิพากษา ให้ท่านแพ้คดี และให้ชำระหนี้ ตามคำขอท้ายฟ้อง ของฝ่ายโจทก์ ได้
แทนที่จะไม่ต้องจ่ายหนี้ค้ำประกัน กลับต้องชำระหนี้บวกดอกเบี้ย ทั้งๆที่ไม่ผิด ก้ได้
แสดงความคิดเห็น
เมื่อผู้ค้ำประกันเสียชีวิต...
ไม่ทราบว่าการค้ำประกันจะสิ้นสุดลงไปด้วยหรือไม่คะ ขอบคุณค่ะ