หลายคนคงเคยได้ยินเรื่องเล่าขานว่า การปรับภาพแบ็คกราวด์ให้เป็นสีดำจะทำให้จอกินไฟน้อยกว่าภาพแบ็คกราวด์สีขาว
มีบางคนถึงกับทำเว็บออกมาโปรโมตเรื่องนี้ (เช่น
http://www.blackle.com/)
หลายคนเชื่อ บางคนก็ไม่เชื่อ บางคนก็ไม่สนใจ สำหรับผมอยู่ในพวกหลังสุด เพราะคิดว่าคงประหยัดไฟได้แค่นิดเดียว
แต่เคยมีใครเคยพิสูจน์เรื่องนี้หรือไม่ หลายสัปดาห์ก่อนผมลองเอา Watt Meter ที่ซื้อมาทดลองเสียบเล่น ก็พบว่าภาพบนจอ
ทำให้การกินไฟของจอแตกต่างกันออกไป แต่ที่ผิดคาดไปเยอะก็คือ
ภาพสีขาวกินไฟน้อยกว่าภาพสีดำ
วันนี้ผมก็เลยทดลองอีกครั้งด้วยจอสองรุ่น คือ
1. Samsung S20B300 LED 20" ผลิตปี 2012
2. Samsung 740N LCD 17" ผลิตปี 2007
แก้ไข: เพิ่มการทดสอบด้วยจอ CRT
3. Socos DF-557AA CRT 15" ผลิตปี 2000
รูปที่ใช้ทดสอบมี 3 รูป คือ
1. สีดำล้วน
2. Wall Paper รูปวิวของ Windows XP (Bliss)
3. สีขาวล้วน
ทำการปรับความสว่างหน้าจอ 3 ระดับ คือ
1. 100
2. 50
3. 20
ได้ผลดังนี้ครับ
เมื่อเปลี่ยนค่าใหม่จะรอประมาณ 5 วินาที แล้วค่อยอ่านค่า กรณีตัวเลขไม่นิ่ง จะเฉลี่ยด้วยสายตา (แต่ก็ไม่เกิน +/- 0.1 วัตต์)
หน้าตาของมิเตอร์ (ขณะที่หน้าจอเป็นสีขาวล้วน ความสว่าง 50)
การวัดตอนหน้าจอสีดำล้วน
แบ็คกราวด์สีดำ จะทำให้จอคอมพิวเตอร์กินไฟน้อยกว่าแบ็คกราวด์สีขาวจริงหรือ?
มีบางคนถึงกับทำเว็บออกมาโปรโมตเรื่องนี้ (เช่น http://www.blackle.com/)
หลายคนเชื่อ บางคนก็ไม่เชื่อ บางคนก็ไม่สนใจ สำหรับผมอยู่ในพวกหลังสุด เพราะคิดว่าคงประหยัดไฟได้แค่นิดเดียว
แต่เคยมีใครเคยพิสูจน์เรื่องนี้หรือไม่ หลายสัปดาห์ก่อนผมลองเอา Watt Meter ที่ซื้อมาทดลองเสียบเล่น ก็พบว่าภาพบนจอ
ทำให้การกินไฟของจอแตกต่างกันออกไป แต่ที่ผิดคาดไปเยอะก็คือ ภาพสีขาวกินไฟน้อยกว่าภาพสีดำ
วันนี้ผมก็เลยทดลองอีกครั้งด้วยจอสองรุ่น คือ
1. Samsung S20B300 LED 20" ผลิตปี 2012
2. Samsung 740N LCD 17" ผลิตปี 2007
แก้ไข: เพิ่มการทดสอบด้วยจอ CRT
3. Socos DF-557AA CRT 15" ผลิตปี 2000
รูปที่ใช้ทดสอบมี 3 รูป คือ
1. สีดำล้วน
2. Wall Paper รูปวิวของ Windows XP (Bliss)
3. สีขาวล้วน
ทำการปรับความสว่างหน้าจอ 3 ระดับ คือ
1. 100
2. 50
3. 20
ได้ผลดังนี้ครับ
เมื่อเปลี่ยนค่าใหม่จะรอประมาณ 5 วินาที แล้วค่อยอ่านค่า กรณีตัวเลขไม่นิ่ง จะเฉลี่ยด้วยสายตา (แต่ก็ไม่เกิน +/- 0.1 วัตต์)
หน้าตาของมิเตอร์ (ขณะที่หน้าจอเป็นสีขาวล้วน ความสว่าง 50)
การวัดตอนหน้าจอสีดำล้วน