อ่านจาก Wiki (ที่น่าจะเอาจากในพันทิปนี่แหละไปลง)
...ธนาคารกลางแห่งประเทศซิมบับเว ตัดสินใจพิมพ์ธนบัตรขึ้นมาเพิ่มเติมครั้งใหญ่ เพื่อนำไปซื้อเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และนำเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐนั้นไปใช้หนี้ (อัตราแลกเปลี่ยนเงินในขณะนั้น คือ 1.59 ดอลลาร์ซิมบับเว = 1 ดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งซิมบับเวสามารถปลดหนี้ให้ตนเองได้ แต่ด้วยระบบเศรษฐกิจ เงินดอลลาร์สหรัฐที่ใช้หนี้คืนไป เมื่อออกสู่ระบบ
ก็เริ่มค่อยๆ ถูกแลกกลับเป็นเงินในสกุลดอลลาร์ซิมบับเว และกลับเข้ามาในระบบเศรษฐกิจของซิมบับเวเอง ทำให้เงินล้นประเทศ...
งงตอนที่ว่า
- กระบวนการที่เงินมันกลับเข้ามาในประเทศอีกครั้งนี่แหละ มันเข้ามาได้ยังไง
- เงินล้นประเทศ อยู่ดีๆชาวบ้านร้านตลาดมีเงินมาอยู่ในมือได้อย่างไร
- เงินในระบบเก่าที่มีอยู่ก็กลายเป็นลดค่าในชั่วข้ามคืน(จากการที่รัฐบาลปรับสกุลเงิน)เค้ามีวิธีการแลกกลับหรือเยียวยาคนถือสกุลเดิมกันยังไง
รบกวนอธิบายหน่อยจ้า
***สงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับบ้านเรา
สมัยก่อนที่ค่าครองชีพเป็นหลักสตางค์ มันพัฒนาจนเป็นหลักบาท จนถึงตอนนี้ที่เงิน 100 บาทแป๊บๆปลิวนี่ มันเป็นมายังไงครับ
หรือว่าตัวกำหนดเป็นราคาสินค้า ที่ผู้บริโภคต้องรับเป็นภาวะจำยอมไป
สอบถามเรื่องเงินเฟ้อซิมบับเว อ่านแล้วงงๆนิดหน่อย
...ธนาคารกลางแห่งประเทศซิมบับเว ตัดสินใจพิมพ์ธนบัตรขึ้นมาเพิ่มเติมครั้งใหญ่ เพื่อนำไปซื้อเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และนำเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐนั้นไปใช้หนี้ (อัตราแลกเปลี่ยนเงินในขณะนั้น คือ 1.59 ดอลลาร์ซิมบับเว = 1 ดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งซิมบับเวสามารถปลดหนี้ให้ตนเองได้ แต่ด้วยระบบเศรษฐกิจ เงินดอลลาร์สหรัฐที่ใช้หนี้คืนไป เมื่อออกสู่ระบบ ก็เริ่มค่อยๆ ถูกแลกกลับเป็นเงินในสกุลดอลลาร์ซิมบับเว และกลับเข้ามาในระบบเศรษฐกิจของซิมบับเวเอง ทำให้เงินล้นประเทศ...
งงตอนที่ว่า
- กระบวนการที่เงินมันกลับเข้ามาในประเทศอีกครั้งนี่แหละ มันเข้ามาได้ยังไง
- เงินล้นประเทศ อยู่ดีๆชาวบ้านร้านตลาดมีเงินมาอยู่ในมือได้อย่างไร
- เงินในระบบเก่าที่มีอยู่ก็กลายเป็นลดค่าในชั่วข้ามคืน(จากการที่รัฐบาลปรับสกุลเงิน)เค้ามีวิธีการแลกกลับหรือเยียวยาคนถือสกุลเดิมกันยังไง
รบกวนอธิบายหน่อยจ้า
***สงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับบ้านเรา
สมัยก่อนที่ค่าครองชีพเป็นหลักสตางค์ มันพัฒนาจนเป็นหลักบาท จนถึงตอนนี้ที่เงิน 100 บาทแป๊บๆปลิวนี่ มันเป็นมายังไงครับ
หรือว่าตัวกำหนดเป็นราคาสินค้า ที่ผู้บริโภคต้องรับเป็นภาวะจำยอมไป